รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : -
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำงาน จากเดิมที่มีขั้นตอนการทำงานในลักษณะ Manual และใช้ไฟล์ Excel
คำสำคัญ : Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:41
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » เริ่มต้นการพัฒนาด้วย React-Native
การใช้ React Native กับ TypeScript เป็นการเพิ่มความปลอดภัยของชนิดข้อมูลให้กับ JavaScript โดยการใช้ Type Checking ที่ช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการพัฒนา React Native คือ เฟรมเวิร์กที่ใช้สำหรับพัฒนาแอปมือถือข้ามแพลตฟอร์ม (iOS และ Android) ด้วย React และ JavaScript วิธีการเริ่มต้น: ติดตั้ง Node.js และ Expo CLI ดาวน์โหลด Node.js และติดตั้ง Expo CLI (npm install -g expo-cli) สร้างโปรเจกต์ใหม่ด้วย TypeScript ใช้คำสั่ง expo init MyApp --template expo-template-blank-typescript เพื่อสร้างโปรเจกต์ใหม่ที่ใช้ TypeScript เขียนคอมโพเนนต์ สร้างคอมโพเนนต์ในไฟล์ .tsx ซึ่งสามารถใช้ประเภทข้อมูล (types) เพื่อให้แน่ใจว่าการใช้งานโค้ดเป็นไปอย่างถูกต้อง ตั้งค่า TypeScript ใช้ไฟล์ tsconfig.json เพื่อกำหนดการตั้งค่าของ TypeScript พัฒนาและทดสอบ ใช้คำสั่ง expo start เพื่อเริ่มเซิร์ฟเวอร์พัฒนาและทดสอบแอปบน Emulator หรืออุปกรณ์จริง ข้อดี: Type Safety: ช่วยจับข้อผิดพลาดได้ก่อนที่จะรันแอป การพัฒนาเร็วขึ้น: การใช้ TypeScript สามารถทำให้การพัฒนาเร็วขึ้นด้วย IntelliSense และการตรวจสอบข้อผิดพลาด การใช้ React Native กับ TypeScript จะทำให้การพัฒนาแอปของคุณมีความมั่นคงและปราศจากข้อผิดพลาดมากขึ้น พร้อมทั้งช่วยให้การพัฒนาเป็นไปอย่างราบรื่นยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : Component  Expo-CLI  NativeWind  React-Native  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 330  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:23:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:35:47
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » เริ่มต้นการพัฒนาด้วย React-Native
การใช้ React Native กับ TypeScript เป็นการเพิ่มความปลอดภัยของชนิดข้อมูลให้กับ JavaScript โดยการใช้ Type Checking ที่ช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการพัฒนา React Native คือ เฟรมเวิร์กที่ใช้สำหรับพัฒนาแอปมือถือข้ามแพลตฟอร์ม (iOS และ Android) ด้วย React และ JavaScript วิธีการเริ่มต้น: ติดตั้ง Node.js และ Expo CLI ดาวน์โหลด Node.js และติดตั้ง Expo CLI (npm install -g expo-cli) สร้างโปรเจกต์ใหม่ด้วย TypeScript ใช้คำสั่ง expo init MyApp --template expo-template-blank-typescript เพื่อสร้างโปรเจกต์ใหม่ที่ใช้ TypeScript เขียนคอมโพเนนต์ สร้างคอมโพเนนต์ในไฟล์ .tsx ซึ่งสามารถใช้ประเภทข้อมูล (types) เพื่อให้แน่ใจว่าการใช้งานโค้ดเป็นไปอย่างถูกต้อง ตั้งค่า TypeScript ใช้ไฟล์ tsconfig.json เพื่อกำหนดการตั้งค่าของ TypeScript พัฒนาและทดสอบ ใช้คำสั่ง expo start เพื่อเริ่มเซิร์ฟเวอร์พัฒนาและทดสอบแอปบน Emulator หรืออุปกรณ์จริง ข้อดี: Type Safety: ช่วยจับข้อผิดพลาดได้ก่อนที่จะรันแอป การพัฒนาเร็วขึ้น: การใช้ TypeScript สามารถทำให้การพัฒนาเร็วขึ้นด้วย IntelliSense และการตรวจสอบข้อผิดพลาด การใช้ React Native กับ TypeScript จะทำให้การพัฒนาแอปของคุณมีความมั่นคงและปราศจากข้อผิดพลาดมากขึ้น พร้อมทั้งช่วยให้การพัฒนาเป็นไปอย่างราบรื่นยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : Component  Expo-CLI  NativeWind  React-Native  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 330  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:23:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:35:47
ประชุมวิชาการระดับชาตินเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 20 » งานวิจัยเรื่อง "Simultaneous Determination Of Folate And Derivatives in Grains Of Thai Rice by Liquid Chromatography"
Determination of folate (FA) or vitamin B9 and its derivatives such as 5-methyltetrahydrofolate (5-MTHF), Tetrahydrofolate (THF) and 10-formyl folic acid (10-CHOFA) in Thai rice with reverse-phase high-performance liquid chromatography. This technique was a simple and fast method for the simultaneous determination of folate and its derivatives. The seed of rice samples were collected from the Department of Genetics, Faculty of Science, Maejo University. Rice powder (0.5000 g) was soaked in 1 mL water and shaken at room temperature and centrifuged at 3500 rpm for 15 minutes. The supernatant was filtered through a 0.22 μm Nylon membrane filter and 20 μL was injected into the HPLC. Separation was performed using a C18 column with isocratic elution of 0.1% formic acid: acetonitrile (85:15 v/v). The flow rate was 0.70 mL min-1 and a photodiode array detector at the wavelength of 267 nm was employed. The calibration curve obtained (R2 > 0.9990) for folate, 5-MTHF, THF and 10-CHOFA were in the range of 0.50-50.0, 0.50-200.0, 0.50-50.0 and 5.0-100.0 mg L-1, respectively. The limit of detection (LOD) and limit of quantification (LOQ) were found to be 0.09- 0.15 mg L-1 and 0.30 to 0.50 mg L-1. Percent recovery at the concentrations of 15 and 35 mg L-1 were found in the range of 95-113. In the ten studied samples, folate and its derivatives were found in the range of 0.19-27.10 mg (in 100 g dry weight). This technique was applied to simultaneous determination of folate and derivatives in rice.
คำสำคัญ : Folate, Thai Rice, High-Performance Liquid Chromatography  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 89  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิริรัตน์ ไพศาลสุทธิชล  วันที่เขียน 29/8/2567 13:08:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:46:49
ถอดบทเรียน KM/การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง » ถอดบทเรียนการทดสอบระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ version #1 สำหรับระบบบริการของสำนักงานมหาวิทยาลัย
การทดสอบระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ version #1 สำหรับระบบบริการของสำนักงานมหาวิทยาลัย ได้มีการทดสอบระบบด้วยมาตรฐานการทดสอบระบบ 829-2008 - IEEE (Standard for Software and System Test Documentation) เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยเม่โจ้ สนับสนุนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยดิจิทัล กลยุทธ์ Digital Standard เอกสารประกอบการทดสอบระบบประกอบด้วย 1) เอกสารระดับการทดสอบระบบ (System Test Plan) 2) เอกสารประกอบการทดสอบระบบ (Test Document) 3) เอกสารกรณีที่ใช้ในการทดสอบระบบ (Test Case) 4) เอกสารรายงานผลการทดสอบ (Test Result)
คำสำคัญ : 829-2008 - IEEE  การทดสอบระบบ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 141  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 28/8/2567 13:30:23  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:43:25
คู่มือ » การสร้างรายการทรัพยากรวารสาร (item) เพื่อการยืม-คืน
ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับวารสารเย็บเล่มออกเป็น 4 แนวทางด้วยกันคือ 1) การเย็บเล่มวารสารในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Alist 2) เย็บเล่มวารสารโดยการสร้างรายการทรัพยากรเป็นรายฉบับ 3)การเย็บเล่มวารสารจากการถ่ายโอนจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Horizon 4) ยกเลิกการเย็บเล่มวารสารกรณีที่เย็บเล่มเอง (เย็บเล่มชั่วคราว)
คำสำคัญ : item  ทรัพยากรวารสาร  ยืม-คืน  วารสาร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานห้องสมุด
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 54  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จิณาภา ใคร้มา  วันที่เขียน 20/8/2567 14:25:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:14:00
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 4 » การตั้งตำรับน้ำมันเหลืองจากน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันและไพลและศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย
ขมิ้นชันและไพลเป็นสมุนไพรไทยที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและสรรพคุณทางยาหลากหลาย สารสกัดและน้ำมันที่สกัดจากสมุนไพรทั้งสองชนิดมีการนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร หรือนำมาผลิตเพื่อใช้เป็นยาประจำบ้านลักษณะการใช้ทาภายนอก ในงานวิจัยนี้ ได้ตั้งตำรับน้ำมันเหลืองที่สกัดได้จากเทคนิคการกลั่นด้วยไอน้ำและมีน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันและไพลเป็นองค์ประกอบที่สัดส่วนต่าง ๆ (1:1 1:2 และ 2:1 โดยปริมาตร) นำน้ำมันหอมระเหยผสมมาผ่านกระบวนการบ่มด้วย พิมเสน การบูร เมนทอล ที่สภาวะสุญญากาศ นอกจากนี้ ได้นำน้ำมันเหลืองแต่ละสูตรมาศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ผลการศึกษาพบว่า น้ำมันเหลืองที่มีองค์ประกอบของน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชันและไพลที่สัดส่วน 2:1 โดยปริมาตร มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ดี สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) และ Staphylococcus epidermidis อย่างน้อยที่ระดับความเขมขน 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร นอกจากนี้ ความเขมขนต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Minimum inhibition concentration, MIC) ทั้งสองสายพันธุ์เทากับ 58.25 และ 50.55 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร สำหรับค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Minimum bactericidal concentration, MBC) ในทั้งสองเชื้อแบคทีเรีย มีค่าเท่ากับ 200.00 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ
คำสำคัญ : ขมิ้นชัน-ไพล  น้ำมันเหลือง  ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 221  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 21/8/2566 16:35:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 15:39:46
ความรู้ทางฟิสิกส์กับการทำงานในยุคศตวรรษที่ 21 » สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ AUN-QA Overview
เกณฑ์ AUN-QA Version 4.0 มีทั้งหมด 8 เกณฑ์ เป็นการพัฒนาปรับปรุงจาก Version 3.0 ซึ่งมี 11 เกณฑ์ โดยรวมเกณฑ์ 2 กับ 3 และรวมเกณฑ์ 7 กับ 8 ไว้ด้วยกัน ส่วนเกณฑ์ 10 รวมเข้าไปในเกณฑ์อื่น ๆ
คำสำคัญ : PLOs  การประกันคุณภาพการศึกษา  เกณฑ์ AUN-QA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 834  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วิชาญ คงธรรม  วันที่เขียน 28/9/2565 20:19:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 20:59:28
สรุปรายงานจากการอบรม » การประยุกต์ใช้เทคนิค Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ในงานวิจัย
ปัจจุบันเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทในการทำประโยชน์กับงานหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ด้านการแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค ด้านอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และการปรับปรุงพันธุ์พืช การนำเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์เข้ามาช่วยเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม เริ่มจากการใช้เทคนิค Polymerase Chain Reaction เพิ่มชิ้นส่วนดีเอ็นเอเฉพาะส่วนที่ต้องการ ภายในระยะเวลาอันสั้นในหลอดทดลอง ซึ่งจะใช้เวลานานประมาณ 3-4 ชั่วโมง และมีความจำเป็นต้องใช้เครื่อง PCR ในการทำ ซึ่งไม่เหมาะกับห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก หรือการทำงานภาคสนาม ดังนั้นจากข้อจำกัดดังกล่าวจึงได้มีการพัฒนาวิธีเพิ่มขยายยีนด้วยเทคนิค Loop-mediated isothermal amplification (LAMP) ขึ้นมา วิธีการนี้สามารถเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้ถึง 109 เท่า ภายในระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง การเพิ่มปริมาณ DNA จะใช้อุณหภูมิคงที่เพียงอุณหภูมิเดียว (60-65 ํC) โดยไม่จำเป็นต้องใช้เครื่อง PCR และการ run gel electrophoresis มีการใช้ primers 4 ชุด หรือ 6 ชุด ที่จำเพาะต่อกับสาย DNA แม่พิมพ์ 6 ตำแหน่ง จึงทำให้มีความจำเพาะต่อการตรวจสอบสูง และทำการเพิ่มปริมาณ DNA โดยใช้เอนไซม์ Bst DNA polymerase สำหรับการตรวจสอบยีนที่เพิ่มขยายได้ ในเทคนิค LAMP จะเกิดสาร pyrophosphate เป็น by product ในปฏิกิริยา สารดังกล่าวสามารถจับกับ magnesium กลายเป็น magnesium pyrophosphate ซึ่งจะเกิด ตะกอนสีขาวขุ่น ไม่ละลายน้ำ สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรืออาจยืนยันผลด้วยเครื่อง spectrophotometry หรือสารฟลูออเรสเซ็นต์ ซึ่งจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นกับปริมาณการเพิ่มขยายยีนนั้นๆ
คำสำคัญ : LAMP, PCR, Loop-mediated isothermal amplification, เทคนิค LAMP  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3489  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 27/9/2565 15:43:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 19:22:07
อ. มธุรส ชัยหาญ » การเข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต สร้างความรู้ความเข้าใจ "เมื่อชีวิตใกล้ชิด COVID-19"
การสร้างความรู้ความเข้าใจใน Covid-19 หลักการปฎิบัติตัวและการป้องกันเกี่ยวกับ Covid-19 การแยกกลุ่มผู้ป่วย และการแบ่งกลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยง จัดอบรมวันที่ 9 มีนาคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น. ผ่านโปรแกรม zoom clound meeting วิทยากรโดย ดร.ทรงยศ คำชัย นักวิชาการสาธารณสุชชำนาญการ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ : COVID-19, ชีวิตวิถีใหม่, โรคติดต่อ, วัคซีน, การเตรียมความพร้อม  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3398  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มธุรส ชัยหาญ  วันที่เขียน 16/3/2565 9:07:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 13:16:02
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการ “ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN QA Version 4.0 (AUN-QA Overview)”
โครงการ “ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN QA Version 4.0 (AUN-QA Overview)” ในวันศุกร์ ที่ 21 มกราคม 2565 เวลา 08.30-16.30 น. จัดโดยกองพัฒนาคุณภาพ สำนักงานมหาวิทยาลัย ออนไลน์ผ่านทางโปรแกรม Zoom Meeting และ Live ผ่าน YouTube โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ตามหนังสืออนุญาตเข้าร่วมโครงการฯ ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2564
คำสำคัญ : AUN-QA  AUN-QA Version 4.0  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1640  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 3/3/2565 15:53:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 16:46:10
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการ “ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN QA Version 4.0 (AUN-QA Overview)”
โครงการ “ระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN QA Version 4.0 (AUN-QA Overview)” ในวันศุกร์ ที่ 21 มกราคม 2565 เวลา 08.30-16.30 น. จัดโดยกองพัฒนาคุณภาพ สำนักงานมหาวิทยาลัย ออนไลน์ผ่านทางโปรแกรม Zoom Meeting และ Live ผ่าน YouTube โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ตามหนังสืออนุญาตเข้าร่วมโครงการฯ ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2564
คำสำคัญ : AUN-QA  AUN-QA Version 4.0  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1640  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 3/3/2565 15:53:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 16:46:10
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการ "AUN-QA Sharing"
โครงการ "AUN-QA Sharing" ในวันพุธ ที่ 19 มกราคม 2565 เวลา 09.00 -12.00 น. ซึ่งจัดโดยกองพัฒนาคุณภาพ สำนักงานมหาวิทยาลัย ออนไลน์ผ่านทางโปรแกรม Microsoft Teams โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ตามหนังสืออนุญาตเข้าร่วมโครงการฯ ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2564
คำสำคัญ : AUN-QA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1237  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 3/3/2565 15:40:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 17:05:47
บทความวิชาการ » งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Digital Arts, Media and Technology (DAMT) ครั้งที่ 7 และ ECTI Northern Section Conference on Electrical, Electronics, Computer and Telecommunications Engineering (NCON) ครั้งที่ 5
-
คำสำคัญ : -  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1299  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภานุวัฒน์ เมฆะ  วันที่เขียน 10/2/2565 13:56:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 11:47:21
สรุปรายงานการอบรม » การอบรมแบบออนไลน์ เรื่อง Active learning: Engaging students in online classes
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้รูปแบบการเรียนรู้จากห้องเรียนปรับเปลี่ยนสู่รูปแบบการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทำให้ผู้สอนหลายท่านพบประสบปัญหาในการสอนแบบออนไลน์ ที่ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการสอน ทำให้การสอนเป็นลักษณะการบรรยาย ไม่เกิดการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ่งการสอนแบบออนไลน์นั้น ผู้สอนจำเป็นต้องมีทักษะ 3 อย่างด้วยกัน คือ 1. ทักษะการใช้เครื่องมือดิจิทัลในการสอน (Digital skills) 2. ทักษะการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ให้เหมาะสมกับผู้เรียน เทคนิคการสอน การสร้างความผูกพันในการเรียนให้กับผู้เรียนในรูปแบบออนไลน์ (Teaching and learning skills) 3. ทักษะการสื่อสาร โต้ตอบและการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ (Personal skills) เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและสนุกในกระบวนการเรียนรู้ และที่สำคัญระหว่างการสอนผู้สอนต้องตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ หรือให้พื้นที่แก่ผู้เรียนเป็นระยะๆ โดยใช้แบบสอบถามใจ เพื่อตรวจสอบสถานะความพร้อมของผู้เรียนเสมอ ว่ามีปัญหา หรือต้องการระบายความรู้สึก เพื่อที่ผู้สอนจะได้ช่วยแก้ไข แนะนำผู้เรียนทันเวลาตามสถานการณ์ได้ เนื่องจากการเรียนแบบออนไลน์ผู้เรียนอยู่หน้าจอตลอดเวลา ไม่ได้สื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อย ขาดช่วงเวลาในการพัฒนาการด้านสังคมตามช่วงวัย ทำให้เกิดความเครียดสะสม และนำไปสู่สภาวะซึมเศร้าได้ จะเห็นว่าการสอนแบบออนไลน์ผู้สอนต้องใช้หลายทักษะในการสร้างห้องเรียนให้น่าเรียนน่าสนใจ อีกทั้งสิ่งสำคัญยังต้องรักษาใจของผู้เรียนให้พร้อมต่อการเรียนเสมอ ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่สำคัญของผู้สอนที่จะให้แก่ผู้เรียน เพื่อช่วยผู้เรียนให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ได้สำเร็จ
คำสำคัญ : 4P  Active learning  Digital skills  Look-Smile-Talk  Personal skills  Teaching skills  แบบสอบถามใจ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2296  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ชมัยพร นิธิกาจณ์พานิช  วันที่เขียน 15/11/2564 16:19:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:58:11
หลักการแก๊สโครมาโทกราฟี » Pesticide analysis by GC-MS/MS
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม การตรวจยาฆ่าแมลงในเครื่องเทศด้วยเทคนิค GC-MS/MS ในวันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม 2564 เวลา 10.00 – 11.00 น. การเตรียมตัวอย่างทำได้โดยเทคนิคการสกัด และทำความสะอาดสารตัวอย่างด้วยเทคนิค Solid phase microextraction หรือ QuEChERS method (Quick, Easy, Cheap, Effective, Rugged and Safe method) ความรู้เรื่องการวิเคราะห์สารฆ่าแมลง โลหะหนักปนเปื้อนในสมุนไพร เป็นที่จำเป็นในการวิเคราะห์ตัวอย่าง เช่น ขมิ้น ใบบัวบก หรือ กัญชา เพื่อให้เกิดการเลือกใช้งานให้ถูกต้องเหมาะสมกับกับชนิดของตัวอย่าง สารที่สนใจวิเคราะห์หรือความเข้มข้นของสารที่สนใจวิเคราะห์ ปัจจุบันมีเครื่องมือและเทคนิคใหม่ ๆ ให้เลือกใช้หลายหลาย เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโลกและเทคโนโลยีแห่งอนาคต โดยจะต้องเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อทำงานทั้งงานวิจัยและการเรียนการสอน ในรายวิชา คม210 เคมีวิเคราะห์ คม 311 เคมีวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ และ คม514 เทคนิคการแยกวิเคราะห์ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
คำสำคัญ : GC-MS/MS  Pesticide  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1482  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภาพร แสงศรีจันทร์  วันที่เขียน 3/10/2564 21:49:53  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 23:43:03
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/งานประชุมวิชาการ » ความรู้ที่ได้จากการประชุมวิชาการ One-Day E-Symposium on Green Innovation in Chemical Analysis: Local issues- Global impacts-Sustainable world
การประชุมวิชาการ One-Day E-Symposium on Green Innovation in Chemical Analysis: Local issues- Global impacts-Sustainable world เป็นการประชุมวิชาการที่จัดขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (Thailand Research Fund) ภายใต้ TRF Distinguished Research Professor Award Grant โดย ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2564 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเป็นการประชุมในรูปแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom
คำสำคัญ : Green chemistry  One-Day E-Symposium  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1162  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วีรินท์รดา ทะปะละ  วันที่เขียน 30/9/2564 15:00:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 14/11/2567 15:52:26
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก » การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก : มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หากจะถามว่า ทำไมต้องมีการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยเกิดขึ้น คำตอบก็คือ เพื่อเป็นการจัดมาตรฐานการศึกษาให้มีความทัดเทียมกัน แต่ละมหาวิทยาลัยจะได้มีการพัฒนาให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เพื่อให้รู้ข้อบกพร่องของตัวเอง และนำไปปรับปรุงแก้ไข ดังนั้น การจัดอันดับมหาวิทยาลัย จึงมีข้อดี คือ ทำให้มหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง มีความกระตือรือร้น ในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร พัฒนาคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยให้ดียิ่งขึ้น ให้มีมาตรฐานการศึกษาที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด
คำสำคัญ : SCD Ranking  SDGs  U-Multirank  University Performance Metrics: UPM  Webometrics  การจัดอันดับมหาวิทยาลัย  คุณภาพการศึกษา  มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)  มาตรฐานการศึกษา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานนโยบายและแผน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 6033  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธัฒฌา ธนัญชัย  วันที่เขียน 15/9/2564 13:41:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:09:02
สรุปองค์ความรู้จากการอบรมผู้ประเมิน รุ่นที่ 5 ระหว่างวันที่ 21-23 มกราคม 2564 » สรุปองค์ความรู้จากการอบรมผู้ประเมิน รุ่นที่ 5 ระหว่างวันที่ 21-23 มกราคม 2564
คำสำคัญ : ผู้ประเมิน AUN-QA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1136  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รัชนีวรรณ คำตัน  วันที่เขียน 12/9/2564 22:11:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 18:59:55
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การตรวจยาฆ่าแมลงในเครื่องเทศด้วยเทคนิค GC-MS/MS
การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง หรือสารกำจัดศัตรูพืชหรือกำจัดแมลงต่าง ๆ หรือ pesticide ก็ต้องมีการสกัดที่เหมาะสม หลังจากที่เราสกัดออกมาแล้วด้วยความที่เป็นความ specific ของตัวเครื่องเทศ ในตัว matrix เค้าเองก็มีสารหลายอย่างมากมายเช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้น วันที่เราสกัดออกมาแล้ว จะเห็นว่าแต่ละชนิดจะมีความ Complex มาก เพราะฉะนั้นจะต้องเลือกวิธีการเตรียมตัวอย่างที่เหมาะสมที่สุด ก็จะเป็นประการแรกเลยที่เราจะต้องทำ
คำสำคัญ : การตรวจยาฆ่าแมลง  เครื่องเทศ  เทคนิค GC-MS/MS  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4525  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 7/5/2564 10:48:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:30:30
ทักษะการสอน (Teaching Skills) » การเรียนการสอนในยุค Covid-19
จาก Covid-19 นำมาสู่ New Normal เป็นสถานการณ์ขั้นเด็ดขาดที่จะไม่ทำไม่ได้ การพัฒนาตนเองเพื่อจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ ก็ถือว่าเป็นวิถีใหม่ของพวกเราชาวอุดมศึกษาเช่นกันค่ะ
คำสำคัญ : Covid -19, การเรียนการสอนออนไลน์, ms team, ความอัจฉริยะทางเทคโนโลยีดิจิทัล  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3643  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล  วันที่เขียน 3/10/2563 22:55:57  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:29:42
การศึกษา การแลกเปลี่ยนนักศึกษา ฝึกงาน หรือฝึกอบรมต่างประเทศ » การเดินทางเข้า-ออกราชอาณาจักรไทย ของบุคลากรและนักศึกษาต่างชาติ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรรัสโควิด-19 ซึ่งตาม พรก. ฉุกเฉิน และคำสั่ง ศบค. ได้ผ่อนปรนให้ผู้ไม่มีสัญชาติไทยซึ่งมีใบอนุญาตทำงานหรือนักศึกษาต่างชาติได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงานหรือศึกษาในราชอาณาจักรตามกฎหมาย ตลอดจนคู่สมรสและบุตรของบุคคลดังกล่าว หรือแรงงานต่างด้าวที่นายจ้างหรือผู้รับอนุญาตให้นำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในราชอาณาจักรได้รับอนุญาตจากทางราชการเพื่อผ่อนปรนให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อและจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข เงื่อนเวลา หลักเกณฑ์และมาตรการป้องกันโรคสำหรับผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร ตามที่กำหนดไว้ในข้อ 2 แห่งข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 12) ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2563 และมาตรการป้องกันโรคสำหรับผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 แนบท้ายคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ที่ 8/2563 เรื่อง แนวปฏิบัติตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 7) สั่ง ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
คำสำคัญ : ราชอาณาจักรไทย  โรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3065  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อาจารีย์ สว่างศรี  วันที่เขียน 8/9/2563 14:08:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 21:03:30
งานวิจัยสถาบัน » งานหนักไม่เคยฆ่าคน vs Life-long Learnings
วาทะโอวาทที่รู้จักกันดี "งานหนักไม่เคยฆ่าคน" ถอดเป็นปรัชญาการศึกษาของมหาวทิยาลัยแม่โจ้ได้อย่างไร แล้ว Life-long Learnings เข้าไปผูกกับกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างไร Stay Tuned
คำสำคัญ : งานหนักไม่เคยฆ่าคน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ การเรียนรู้ตลอดชีวิต Life-long learning  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2862  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุเนตร สืบค้า  วันที่เขียน 15/6/2563 10:08:35  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:39:42
รายงานสรุปเนื้อหาการประชุม อบรม สัมมนา » รายงานสรุปเนื้อหาการอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ "Transgenerational equity and sustainable technologies for agricultural waste to energy"
-
คำสำคัญ : auditing  industrial symbiosis  thermo-chemical conversion  waste management  วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2159  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทิพปภา พิสิษฐ์กุล  วันที่เขียน 15/10/2562 9:10:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 18:49:43
ประชุมวิชาการ » การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ NUMTA2019 ณ ประเทศอิตาลี
การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายในการประชุมวิชาการ International Conference and Summer School NUMTA2019 “Numerical Computations: Theory and Algorithms” ณ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตาร์และสถิติ สำหรับงานทางด้านสถิติในหัวข้อเรื่อง “Modelling population size using Horvitz-Thompson approach based on the Poisson Lindley distribution” ณ วันที่ 15 - 21 มิถุนายน 2562
คำสำคัญ : Horvitz-Thompson estimators  Poisson-Lindley distribution  Variance estimation  Zero-truncated distribution  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2021  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์  วันที่เขียน 4/10/2562 15:40:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 17:16:25
ประชุมวิชาการ » การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ NUMTA2019 ณ ประเทศอิตาลี
การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายในการประชุมวิชาการ International Conference and Summer School NUMTA2019 “Numerical Computations: Theory and Algorithms” ณ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตาร์และสถิติ สำหรับงานทางด้านสถิติในหัวข้อเรื่อง “Modelling population size using Horvitz-Thompson approach based on the Poisson Lindley distribution” ณ วันที่ 15 - 21 มิถุนายน 2562
คำสำคัญ : Horvitz-Thompson estimators  Poisson-Lindley distribution  Variance estimation  Zero-truncated distribution  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2021  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์  วันที่เขียน 4/10/2562 15:40:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 17:16:25
ประชุมวิชาการ » การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ NUMTA2019 ณ ประเทศอิตาลี
การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายในการประชุมวิชาการ International Conference and Summer School NUMTA2019 “Numerical Computations: Theory and Algorithms” ณ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตาร์และสถิติ สำหรับงานทางด้านสถิติในหัวข้อเรื่อง “Modelling population size using Horvitz-Thompson approach based on the Poisson Lindley distribution” ณ วันที่ 15 - 21 มิถุนายน 2562
คำสำคัญ : Horvitz-Thompson estimators  Poisson-Lindley distribution  Variance estimation  Zero-truncated distribution  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2021  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์  วันที่เขียน 4/10/2562 15:40:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 17:16:25
อ. มธุรส ชัยหาญ » การเชื่อมโยงงานวิจัยเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (Research Connect)” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
การเชื่อมโยงงานวิจัยเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (Research Connect)” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีงานวิจัย และ นวัตกรรมระหว่างผู้มีเทคโนโลยี (Technology Provider) และ ผู้ต้องการใช้เทคโนโลยี (Technology Seeker) เพื่อเป็นโอกาสและช่องทางในการส่งต่อผลงาน สิ่งประดิษฐ์ และ ความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ที่มุ่งตอบสนองการนำไปใช้ประโยชน์ในหลากหลายมิติ ทั้งเชิงวิชาการ เชิงชุมชนสังคมและเชิงพาณิชย์ โดยการจัดบู้ธและนำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมสาขาเกษตรและอาหารแปรรูป“กรรมวิธีการสกัดและการเพิ่มความบริสุทธิ์สารเอล-ควาบราซิทอล (L-quebrachitol) จากซีรั่มน้ำยางพารา” ณ. ห้อง Mayfair Ballroom โรงแรม เดอะเบอร์เคลีย์ โฮเต็ล ประตูน้ำ กรุงเทพ ในวันที่ 3 กันยายน 2562 กระบวนการสกัด L-Quebrachitol จากซีรั่มน้ำยางพาราสดและน้ำทิ้งจากกระบวนการรีดยางแผ่นมาผลิตสารบริสุทธิ์ L-quebrachitol ซึ่งเป็นน้ำตาลกลุ่ม oligosaccharide ที่สามารถละลายน้ำได้ 100 เปอร์เซ็นต์ สารดังกล่าว มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระสูง (Antioxidant) และ สารต้านจุลินทรีย์ (Antimicrobial) ยับยั้งแบคทีเรียสาเหตุการเกิดสิว Staphylococcus aureus, S. epidermidis และ Propionibacterium acnes จึงสามารถนำมาใช้เป็นส่วนผสมในเวชสำอางชนิดต่างๆโดยเฉพาะเวชสำอางสำหรับผู้ที่มีผิวแพ้ง่ายสามารถใช้เป็น ส่วนประกอบของสารต้านมะเร็ง (Anti-cancer agents) และ สามารถนำมาผลิตเป็นสารเคลือบแผ่นยาง สำหรับลดเชื้อราปนเปื้อนบนแผ่นยางผึ่งแห้ง (Air dry sheets) และ ยางก้อนถ้วย สารบริสุทธิ์ L-quebrachitol สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราหลักที่ปนเปื้อนบนยางแผ่น Aspergillus และ Penicillium ได้ดี สามารถลดการเจริญของเชื้อราดังกล่าว ได้นาน 4 เดือน ภายหลังจากการเคลือบยางแผ่นผึ่งแห้งและยางก้อนถ้วยด้วยสารบริสุทธิ์ L-quebrachitol จากงานวิจัย เมื่อวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิต พบว่า มีราคาถูกกว่า สารบริสุทธิ์ L-quebrachitol ที่ผลิตและจำหน่ายทางการค้า ถึง 44 เท่า ด้วยกรรมวิธีการสกัดและแยกสาร L-quebrachitol ด้วยเทคนิคที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และ มีราคาถูก
คำสำคัญ : L-quebrachitol  กระบวนการสกัด  ซีรัมยางพารา  ผลิตภัณฑ์สปา  ผลิตภัณฑ์สำหรับผิวหน้า  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2697  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มธุรส ชัยหาญ  วันที่เขียน 1/10/2562 10:36:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 13:44:51
การพำนักในราชอาณาจักรไทยของบุคลากร/นักศึกษาต่างชาติ ในสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ » ขั้นตอนและข้อปฏิบัติในการขอ Re-entry Permit สำหรับบุคลากรและนักศึกษาต่างชาติที่ปฏิบัติงานหรือศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ขั้นตอนและข้อปฏิบัติในการขอ Re-entry Permit สำหรับบุคลากรและนักศึกษาต่างชาติที่ปฏิบัติงานหรือศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อรักษาสิทธิของวีซ่าประเภท Non-immigrant B สำหรับบุคลากร และ ED สำหรับนักศึกษา
คำสำคัญ : Re-entry Permit  เดินทางกลับเข้าประเทศ  เดินทางออกนอกประเทศ  รักษาสิทธิวีซ่า  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3637  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน กนกวรรณ เครือมณี  วันที่เขียน 30/9/2562 10:04:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:36:36
อ. มธุรส ชัยหาญ » การเข้าร่วมกิจกรรม “การเชื่อมโยงงานวิจัยเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (Research Connect)” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
การเข้าร่วมกิจกรรม “การเชื่อมโยงงานวิจัยเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (Research Connect)” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีงานวิจัย และ นวัตกรรมระหว่างผู้มีเทคโนโลยี (Technology Provider) และ ผู้ต้องการใช้เทคโนโลยี (Technology Seeker) เพื่อเป็นโอกาสและช่องทางในการส่งต่อผลงาน สิ่งประดิษฐ์ และ ความเชี่ยวชาญด้านต่างๆ ที่มุ่งตอบสนองการนำไปใช้ประโยชน์ในหลากหลายมิติ ทั้งเชิงวิชาการ เชิงชุมชนสังคมและเชิงพาณิชย์ โดยการจัดบู้ธและนำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมสาขาเกษตรและอาหารแปรรูป“กรรมวิธีการสกัดและการเพิ่มความบริสุทธิ์สารเอล-ควาบราซิทอล (L-quebrachitol) จากซีรั่มน้ำยางพารา” ณ. ห้อง Mayfair Ballroom โรงแรม เดอะเบอร์เคลีย์ โฮเต็ล ประตูน้ำ กรุงเทพ ในวันที่ 3 กันยายน 2562
คำสำคัญ : L-quebrachitol  กระบวนการสกัด  การเพิ่มมูลค่า  ซีรัมนำ้ยางพารา  นำ้ทิ้งจากกระบวนการรีดแผ่นยาง  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2856  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มธุรส ชัยหาญ  วันที่เขียน 25/9/2562 14:32:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 20:52:40