Blog : การพัฒนาระบบสารสนเทศ
รหัสอ้างอิง : 383
ชื่อสมาชิก : สมนึก สินธุปวน
เพศ : ชาย
อีเมล์ : somnuk@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 1/4/2554 12:02:26
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 1/4/2554 12:02:26

รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เก็บข้อมูลเกี่ยวกับบทความที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หรือ XML
คำสำคัญ : การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 12/9/2567 17:17:04
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย (2)
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
คำสำคัญ : การเข้าถึงและการรวมกลุ่ม  ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี  แนวทางวิจัยที่มีจริยธรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 32  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:56:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 12/9/2567 19:49:39
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
คำสำคัญ : การใช้เทคโนโลยีอย่างรับผิดชอบ  ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูล  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 30  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:45:40  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/9/2567 5:14:19
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » เริ่มต้นการพัฒนาด้วย React-Native
การใช้ React Native กับ TypeScript เป็นการเพิ่มความปลอดภัยของชนิดข้อมูลให้กับ JavaScript โดยการใช้ Type Checking ที่ช่วยป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการพัฒนา React Native คือ เฟรมเวิร์กที่ใช้สำหรับพัฒนาแอปมือถือข้ามแพลตฟอร์ม (iOS และ Android) ด้วย React และ JavaScript วิธีการเริ่มต้น: ติดตั้ง Node.js และ Expo CLI ดาวน์โหลด Node.js และติดตั้ง Expo CLI (npm install -g expo-cli) สร้างโปรเจกต์ใหม่ด้วย TypeScript ใช้คำสั่ง expo init MyApp --template expo-template-blank-typescript เพื่อสร้างโปรเจกต์ใหม่ที่ใช้ TypeScript เขียนคอมโพเนนต์ สร้างคอมโพเนนต์ในไฟล์ .tsx ซึ่งสามารถใช้ประเภทข้อมูล (types) เพื่อให้แน่ใจว่าการใช้งานโค้ดเป็นไปอย่างถูกต้อง ตั้งค่า TypeScript ใช้ไฟล์ tsconfig.json เพื่อกำหนดการตั้งค่าของ TypeScript พัฒนาและทดสอบ ใช้คำสั่ง expo start เพื่อเริ่มเซิร์ฟเวอร์พัฒนาและทดสอบแอปบน Emulator หรืออุปกรณ์จริง ข้อดี: Type Safety: ช่วยจับข้อผิดพลาดได้ก่อนที่จะรันแอป การพัฒนาเร็วขึ้น: การใช้ TypeScript สามารถทำให้การพัฒนาเร็วขึ้นด้วย IntelliSense และการตรวจสอบข้อผิดพลาด การใช้ React Native กับ TypeScript จะทำให้การพัฒนาแอปของคุณมีความมั่นคงและปราศจากข้อผิดพลาดมากขึ้น พร้อมทั้งช่วยให้การพัฒนาเป็นไปอย่างราบรื่นยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : Component  Expo-CLI  NativeWind  React-Native  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 39  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:23:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 14/9/2567 1:33:13
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา CLOs ผ่าน มคอ.3
หัวข้อนี้เน้น การออกแบบหลักสูตรให้ตอบสนองต่อผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร สะท้อนถึงความต้องการ ของผู้ที่เกี่ยวข้องครบทุกภาคส่วน และผลการเรียนรู้นั้นต้องครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะเฉพาะทางและทักษะทั่วไป - Program Learning Outcomes (PLOs) สิ่งที่หลักสูตร ต้องการ/คาดหวัง ให้บัณฑิตเป็น เมื่อเรียนครบตามโปรแกรม ของหลักสูตร - Course Learning Outcomes (CLOs) สิ่งที่รายวิชา ต้องการ/คาดหวัง ให้นิสิตได้รับ เมื่อเรียนครบตามเนื้อหา ของรายวิชา
คำสำคัญ : CLO  ELO  PLO  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 780  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 18/11/2566 23:45:59  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/9/2567 17:58:53
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » แอปพลิเคชันสำหรับช่วยในการจัดเรียนการสอน
การเรียนผ่านเครื่องมือช่วยสอนโดยใช้แอปพลิเคชันมีบทบาทในการส่งเสริมและช่วยเหลืออาจารย์และนักศึกษาเป็นอย่างมาก บทความนี้ได้รวบรวม 8 เครื่องมือช่วยสอนสำหรับอาจารย์ในการช่วยจัดการเรียนการสอนให้เกิดความสะดวกและสามารถนำไปช่วยในการจัดการสอนให้สอดคล้องกับบทเรียนได้มากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : Canva  Kahoot  Nearpod  Plicker  Quizizz  Storyboard  Visme  Voxer  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 543  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 18/11/2566 23:01:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/9/2567 14:09:39
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » Image classification with TensorFlow Lite Model Maker (จาก ECTI DAMT NCON 2023 สอนใน คพ320 วิชาระบบปฏิบัติการ)
ไลบรารี TensorFlow Lite Model Maker ช่วยลดความยุ่งยากในกระบวนการปรับเปลี่ยนและแปลงโมเดลเครือข่ายประสาท (neural-network) ของ TensorFlow สำหรับแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์ การเขียนโปรแกรมนี้เป็นตัวอย่างที่ใช้ไลบรารี Model Maker เพื่อแสดงการปรับเปลี่ยนและการจัดประเภทรูปภาพที่ใช้กันทั่วไปเพื่อจำแนกภาษามือบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ https://colab.research.google.com/github/tensorflow/tensorflow/blob/master/tensorflow/lite/g3doc/tutorials/model_maker_image_classification.ipynb https://blog.tensorflow.org/2020/03/higher-accuracy-on-vision-models-with-efficientnet-lite.html https://github.com/RangiLyu/EfficientNet-Lite
คำสำคัญ : Image classification  Model Maker  TensorFlow Lite  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 519  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 29/9/2566 10:51:37  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/9/2567 18:22:39
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » การเขียนบทความลงวารสารวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
บทความวิชาการมีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นรูปแบบอันเป็นสากลในการเผยแพร่ความรู้ ความคิด และพัฒนาการที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในแง่มุมต่าง ๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้จัดทำ “วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม” ขึ้นเพื่อส่งเสริมการผลิตและเผยแพร่บทความ วิชาการโดยมีกำหนดการตีพิมพ์เป็นราย 4 เดือน หรือ กำหนดออกปีละ 3 ฉบับ ในเดือนมกราคม พฤษภาคม และเดือนกันยายน ของทุกปี • ประเภทผลงานที่รับตีพิมพ์ - บทความปริทัศน์ (Review Article) ทั้งในรูปแบบของการเรียบเรียงผลงานวิจัยที่ผ่านมา และการเรียบเรียงสรุปความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สารสนเทศในด้านใดด้านหนึ่ง หรือบทความแนะนำองค์ความรู้ในสาขาการวิจัยที่น่าสนใจ (Tutorial Article) - บทความวิชาการ (Academic Article) ที่ให้ความรู้อันเป็นประโยชน์แก่นักวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือประชาชนทั่วไป - บทความวิจัย (Research Article) ด้านนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ • ขอบเขตของบทความวิชาการ - งานวิจัยและบทความทางวิชาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - งานวิจัยและบทความในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ - งานวิจัยและบทความด้านอื่น ๆ ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั่วประเทศ Ref: https://mitij.mju.ac.th/JOURNAL/1.Promote_MITIJ.pdf
คำสำคัญ : เทคโนโลยีสารสนเทศ  บทความวิจัย  วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม  วิทยาการคอมพิวเตอร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 354  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 28/9/2566 13:16:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 14/9/2567 3:35:11
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ระบบสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย (วาจา: VAJA)
Vaja คือ ระบบสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย หรือ ระบบแปลงข้อความภาษาไทยให้เป็นเสียงพูด โดยมีเวอร์ชันล่าสุดคือ วาจาเวอร์ชัน 9.0 เพื่อเป็นผู้ช่วยเหล่าเมกเกอร์และนักพัฒนาซอฟต์แวร์ในการสร้างไลบรารี (Library)
คำสำคัญ : ภาษาไทย  ระบบสังเคราะห์เสียงพูด  วาจา: VAJA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 496  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 27/9/2566 21:20:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/9/2567 15:52:09

URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้