#การตรวจยาฆ่าแมลงในเครื่องเทศด้วยเทคนิค GC-MS/MS
วันที่เขียน 7/5/2564 10:48:19     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:30:30
เปิดอ่าน: 4525 ครั้ง

การตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง หรือสารกำจัดศัตรูพืชหรือกำจัดแมลงต่าง ๆ หรือ pesticide ก็ต้องมีการสกัดที่เหมาะสม หลังจากที่เราสกัดออกมาแล้วด้วยความที่เป็นความ specific ของตัวเครื่องเทศ ในตัว matrix เค้าเองก็มีสารหลายอย่างมากมายเช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้น วันที่เราสกัดออกมาแล้ว จะเห็นว่าแต่ละชนิดจะมีความ Complex มาก เพราะฉะนั้นจะต้องเลือกวิธีการเตรียมตัวอย่างที่เหมาะสมที่สุด ก็จะเป็นประการแรกเลยที่เราจะต้องทำ

การตรวจยาฆ่าแมลงในเครื่องเทศด้วยเทคนิค GC-MS/MS

 

นางสาวรุ่งทิพย์ กาวารี

นักวิทยาศาสตร์

 

บางชนิดของเครื่องเทศอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของสมุนไพรไทย เช่น ขมิ้น ขิง ปัจจุบันได้นำเครื่องเทศมาเป็นส่วนหนึ่งของการประกอบอาหาร การผลิตเครื่องสำอาง และยารักษาโรค ดังนั้น เราจึงต้องมีการตรวจเช็คด้านความปลอดภัยทางอาหารด้วย เพราะว่าสุดท้ายทุกอย่างก็จะเข้าสู่ร่างกายเรา

ในส่วนของการตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง หรือสารกำจัดศัตรูพืชหรือกำจัดแมลงต่าง ๆ หรือ pesticide ก็ต้องมีการสกัดที่เหมาะสม หลังจากที่เราสกัดออกมาแล้วด้วยความที่เป็นความ specific ของตัวเครื่องเทศ ในตัว matrix เค้าเองก็มีสารหลายอย่างมากมายเช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้น วันที่เราสกัดออกมาแล้ว จะเห็นว่าแต่ละชนิดจะมีความ Complex มาก เพราะฉะนั้นจะต้องเลือกวิธีการเตรียมตัวอย่างที่เหมาะสมที่สุด ก็จะเป็นประการแรกเลยที่เราจะต้องทำ

สำหรับ pesticide จะต้องตรวจวัดตัวไหนบ้าง ขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศ เช่นประเทศอินเดียจะตรวจวิเคราะห์เครื่องเทศทั้งนำเข้าและส่งออก ส่วนใหญ่ในเทคนิคของ GC ที่ตรวจบ่อยที่สุดคือ organophosphorus: OP, organochlorine: OC, pyrethroid แล้วก็ค่าลิมิตที่เราสามารถตรวจดีเทคได้ต่ำสุดเท่าไหร่ ตาม regulation ก็จะบอกไว้

วิธีการทำหรือวิธีการทดสอบของแต่ละห้องปฏิบัติการต้องทำการ method validation เพื่อที่จะเช็คว่า method ที่เราเลือกมาวิเคราะห์สารกำจัดศัตรูพืชเหล่านี้ได้รับมาตรฐานที่ดีและมีความถูกต้องและก็เชื่อถือได้ได้ผลที่ถูกต้องจริง ๆ โดยขั้นตอนของการทำ method validation ก็จะต้องมีการทดสอบ Precision, Accuracy, LOD, LOQ, Specificity, Linearity and range, Ruggedness, Robustness เพื่อให้ได้รับรองมาตรฐาน ISO 17025

สารพิษตกค้างหรือยาฆ่าแมลงที่ตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคดีเทคเตอร์ที่เป็น GC ทั่วไปได้ คือ organochlorine, pyrethroid จะตรวจด้วย µECD ส่วน organophosphorus จะตรวจด้วย FPD ดรเทคเตอร์ ECD สามารถตรวจ compound หรือ pesticide ที่มีส่วนประกอบของ Cl, Br หรือธาตุหมู่ 7 อยู่ใน structure ของ compound นั้นๆ ส่วนดีเทคเตอร์ FPD สามารถตรวจสารที่มี P หรือ S อยู่ใน structure ของ compound นั้น ๆ ได้ แต่ 2 เทคนิคนี้ตรวจได้แค่ในเชิงปริมาณเมื่อเทียบกับ calibration curve แต่ไม่สามารถที่จะตอบและยืนยันในเชิงคุณภาพได้ ถ้าพีคเกิดขึ้นตรงตำแหน่งของ standard เราจะไม่สามารถยืนยันได้ จึงทำให้การตรวจงาน pesticide ด้วยข้อจำกัดต่างๆ จึงเปลี่ยนมาใช้เทคนิค GC-MS triple Q (QQQ)

Gas chromatography Mass Spectrometry : QQQ เทคนิคนี้สามารถที่จะตรวจผลในเชิงปริมาณและคุณภาพได้ในทีเดียว รวมไปถึง regulation ต่างๆ สามารถตรวจ pesticide ได้ทั้งหมดโดยใช้แค่ดีเทคเตอร์ Mass-Mass มี Pesticide analyzer ในรูป hardware ที่ optimize ให้แล้ว และมี MRM database ที่อยู่กับเครื่อง มากกว่า 1000 compound ใน database นอกจากนี้ ยังมี database ของ Retention time locking (RTL) และมี Dynamic MRM  หรือ dMRM การออกผลใช้ MassHunter ออกผลได้เร็ว และง่าย

โดยทั้งหมดในส่วนของตัวเครื่องเทศเอง ตัว GC-QQQ ตอบโจทย์เราได้ สามารถวิเคราะห์ pesticide ได้มากกว่า 100 ชนิด สามารถที่จะตรวจวิเคราะห์ได้ในเชิงปริมาณที่ต่ำตาม regulation วิเคราะห์ได้เร็วขึ้น ออกผลได้ง่ายขึ้น

 

 

ที่มา: สรุปจากการเข้าร่วมงานสัมมนาออนไลน์ในหัวข้อ “แนวทางการเตรียมตัวอย่างสำหรับการวิจัยสมุนไพร” โดยใช้เทคนิค โครมาโทกราฟีเพื่อตรวจสอบสารปนเปื้อน รวมถึงการใช้เทคนิคสเปกโทรสโคปีเพื่อตรวจสอบสารโลหะหนัก เมื่อวันที่ 14, 21, 28 มกราคม 2564 ออนไลน์ผ่านระบบ WEBCAST โดยคุณธนัชชาพร เสมาทอง

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1159
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
รุ่งทิพย์ กาวารี » #SFC เทคนิคการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เทคนิคโครมาโตกราฟีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ใช้คอลัมน์แบบเปิดในการแยกสาร ซึ่งใช้เวลานานมาก มีความละเอียดต่ำ มีอัตราการไหลต่ำ (ขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วง) การทำ Gradient ไม่สามารถทำได้ และจำเป็นต้องมี...
Flash  HPLC  Prep HPLC  SFC  Supercritical Fluid Chromatography     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 17/11/2567 16:18:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:45:19   เปิดอ่าน 139  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:35:33   เปิดอ่าน 278  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:55:17   เปิดอ่าน 361  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:12:40   เปิดอ่าน 181  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง