เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
ข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก
ตอนที่ 1 : ข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก
รหัสอ้างอิง :
393
ชื่อสมาชิก :
วิชาญ คงธรรม
เพศ :
ชาย
อีเมล์ :
wichan_k@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก :
บุคลากรภายใน[
สังกัด
]
ลงทะเบียนเมื่อ :
1/4/2554 17:31:33
แก้ไขล่าสุดเมื่อ :
1/4/2554 17:31:33
ตอนที่ 2 : ประวัติการเขียนบทความของสมาชิก
ความรู้ทางฟิสิกส์กับการทำงานในยุคศตวรรษที่ 21
ตลาดแรงงานในยุคศตวรรษที่ 21
สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ AUN-QA Overview
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
จากการได้ศึกษาเรียนรู้ผลงานวิจัยของนักวิชาการหลายท่านและผลงานของผู้เขียน ซึ่งผู้เขียนได้สนใจงานวิจัยทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ จึงได้สรุปประเด็นหลักในแง่มุมของการเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ และความจำเป็นของการแก้ไขแนวคิดที่คลาดเคลื่อน มีดังนี้ การเรียนรู้เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นนามธรรม สิ่งที่มีขนาดเล็กหรือโตเกินไป เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วหรือมองไม่เห็น เช่น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับคลื่น เป็นต้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน ถึงแม้ว่า ผู้เรียนจะได้ทำโจทย์ตัวอย่างและทำแบบฝึกหัดโดยใช้แนวจากการทำโจทย์ตัวอย่างคำนวณได้ถูกต้องก็ตาม แต่เมื่อใช้ข้อสอบตรวจวินิจฉัยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้สัมภาษณ์ประกอบในการตรวจสอบมักจะพบว่า ผู้เรียนยังมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอยู่และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนนี้มักจะมีกับผู้เรียนทั่วไปในโลก แนวคิดที่คลาดเคลื่อนดังกล่าวมักจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยากและติดตัวผู้เรียนไป เมื่อจบการศึกษาและไปประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นหรือสาธารณชน ถ้าสิ่งนั้นเกี่ยวกับความรู้ที่เป็นแนวคิดที่คลาดเคลื่อนของเขาอยู่ ก็จะทำให้เกิดความเสียหายได้ ดังนั้นผู้สอนในเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้เรียนส่วนมากในโลกนี้มีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผู้เรียนไม่มีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน หรือได้รับการแก้ไขแล้ว เช่นวิศวกรที่ทำการออกแบบและสร้างยวดยานพาหนะที่ใช้กับสาธารณะชน แต่เขาเข้าใจแนวคิดที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับกฎข้อที่หนึ่งของนิวตันอยู่ หรือนายแพทย์ที่สั่งให้ใช้เครื่องมือเกี่ยวกับฟิสิกส์กับผู้ป่วย แต่เขามีแนวคิดที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ซึ่งเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือนั้น ย่อมทำให้เกิดความเสียกับผู้ป่วยหรือสาธารณชนได้ เป็นต้น
สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ"การประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 12"
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์: การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียน
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ
ตลาดแรงงานของบัณฑิตฟิสิกส์ยุคศตวรรษที่ 21
ฟิสิกส์กับสนุกเกอร์
สะเต็มศึกษากับนาโนเทคโนโลยี
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาด้านพลังงาน
ถอดรหัสผู้นำสารจากอวกาศ
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน: งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่27
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน