การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ NUMTA2019 ณ ประเทศอิตาลี
วันที่เขียน 4/10/2562 15:40:46     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:50:50
เปิดอ่าน: 1928 ครั้ง

การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายในการประชุมวิชาการ International Conference and Summer School NUMTA2019 “Numerical Computations: Theory and Algorithms” ณ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นเพื่อนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตาร์และสถิติ สำหรับงานทางด้านสถิติในหัวข้อเรื่อง “Modelling population size using Horvitz-Thompson approach based on the Poisson Lindley distribution” ณ วันที่ 15 - 21 มิถุนายน 2562

การประชุมวิชาการครั้งนี้เป็นงานประชุมในระดับนานาชาติ มีหัวข้อการนำเสนอเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ ทฤษฎีทางสถิติ และสถิติประยุกต์ โดยการเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ข้าพเจ้าได้นำเสนอผลงานในรูปแบบบรรยาย ในหัวข้อ “Modelling population size using Horvitz-Thompson approach based on the Poisson Lindley distribution” ณ วันที่ 20 มิถุนายน 2562 ในรูปแบบบรรยาย โดยมีวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อประมาณขนาดของประชากรโดยใช้การแจกแจงแบบปัวซงลินด์เลย์แบบมีพารามิเตอร์เดียว ซึ่งเป็นการแจกแจงสำหรับข้อมูลแจงนับที่พบว่าใช้ในการประมาณประชากรที่มีลักษณะภาวะความต่างกันในประชากร (Heterogeneous model) และใช้เทคนิคการประมาณความแปรปรวนของ Dankmar Bhning เพื่อใช้ในการประมาณช่วงความเชื่อมั่นของขนาดประชากร ผลการศึกษาพบว่าตัวประมาณใหม่ที่ศึกษาให้ความแม่นยำที่ดีกว่าการแจกแจงแบบปัวซง การประยุกต์ใช้ตัวประมาณนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายสาขา เช่น การประมาณขนาดประชากรในงานด้านนิเวศวิทยา ด้านการอนุรักษ์ ด้านสังคมศาสตร์ ด้านการแพทย์ เป็นต้น โดยมีบทคัดย่อดังนี้

Abstract

Capture-recapture analysis is applied to estimate population size in ecology, biology, social science, medicine, linguistics and software engineering. The Poisson distribution is one of  the simplest models for count data and appropriate for homogeneous populations. On the other hand, it is found to underestimate the counts for overdispersed data. In this study, I have proposed population size estimation using the mixture of Poisson and Lindley distribution It can exhibit overdispersed, equidispersed and underdispersed data. Additionally, it is able to present count data with long tail. As a result of problem of unobserved individuals, the zero-truncated Poisson Lindley distribution is considered. The parameter of distribution can be estimated using the maximum likelihood estimation. In this study, I have proposed the Horvitz-Thompson estimator based on the zero-truncated Poisson Lindley distribution for modelling the population size. Point and interval estimation of the target population are presented. The technique of conditioning is used for variance estimation of the population size. Relative bias, relative variance and relative mean square error are used for measuring the accuracy of the estimator. The simulation results show that the Horvitz-Thompson estimator under the zero-tuncated Poisson Lindley distribution provides a good fit when comparing to the zero-truncated Poisson distribution.

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1061
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:48:02   เปิดอ่าน 19  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:47:48   เปิดอ่าน 39  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศ
การเขียนบทความทางวิชาการเพื่อให้ได้ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศและวารสารต่างประเทศนั้น เป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นสำหรับบุคลากรสายวิชาาร เนื่องจากหลังจากที่ทำการศึกษา วิจัย ค้นคว้า ทดลองสิ่งใหม่ ๆ ๆได้แล...
Chat GPT  บทความวิชาการ  วารสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 4/3/2567 10:52:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:47:07   เปิดอ่าน 75  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง