รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : การจัดการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การบรรยายพิเศษการออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 ข้อกำหนด R3.5 The teaching and learning activities are shown to inculcate in students, new ideas, creative thought, innovation, and an entrepreneurial mindset.
การบรรยายพิเศษการออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 ข้อกำหนด R3.5 The teaching and learning activities are shown to inculcate in students, new ideas, creative thought, innovation, and an entrepreneurial mindset. หัวข้อบรรยาย "การจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังผู้เรียน มีความคิดใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรม" โดยวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสุดา ศรีสุข คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 -12.00 น. ณ ห้องประชุม 2 อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติและการจัดการสารสนเทศ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ
คำสำคัญ : การคิดค้นนวัตกรรม  การจัดการเรียนการสอน  ความคิดสร้างสรรค์  ความคิดใหม่  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 930  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 4/3/2566 22:46:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:53:39
อ. มธุรส ชัยหาญ » การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน” เพื่อนำความรูปมาพัฒนางานวิจัย ภายใต้โครงการ Sustainable Solid Waste Management and Policies (SWAP) ของ The European Union ณ เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม
หลักสูตรอบรม การจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน (Sustainable solid WAste management and Policies – SWAP) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20-22 กรกฎาคม 2565 มีโครงสร้างการอบรมดังต่อไปนี้ บทนำเกี่ยวกับขยะมูลฝอย การจัดเก็บ และการบำบัด ชนิดของบรรจุภัณฑ์และการแยกขยะ ชนิดของขยะอันตรายและขยะ/เศษเหลือทิ้งทางการเกษตร ชนิดของขยะชีวภาพ ขยะมูลฝอยจากแหล่งชุมชน และการบำบัดขยะมูลฝอย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ แลนด์ฟิลล์ การรีไซเคิล เศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy) กฎระเบียบและข้อบังคับในต่างประเทศ การจัดการ โลจิสติกส์ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และสุขภาพของมนุษย์ การจัดการพลังงานที่ได้จากขยะในรูปแบบไฟฟ้าความร้อนและเชื้อเพลิงชีวภาพโดยหลัก 3R และจะทำให้ปริมาณขยะลดน้อยลง เทคโนโลยีการจัดการขยะเป็นพลังงานในยุคพลังงานทดแทน 4.0 ประกอบด้วย 1. เทคโนโลยีการฝังกลบและระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ (Landfill Gas to Energy) 2. เทคโนโลยีเตาเผาขยะ (Incineration) 3. เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากขยะ (Municipal Solid Waste Gasification) 4. เทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion: AD) 5. เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) และ 6. เทคโนโลยีระบบเตาปฏิกรณ์ (Plasma Arc) จะเน้นการกำจัดขยะและผลิตพลังงานได้พร้อมๆกัน ในวันสุดท้ายของการอบรมผู้เข้าอบรมได้ฟังบรรยายเกี่ยวกับการออกแบบหลักสูตรการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องและได้ฝึกปฏิบัติโดยการระดมความคิดเพื่อจัดการอบรมเกี่ยวกับหัวข้อการจัดการขยะ/ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม ากนั้นผู้เข้าอบรมได้เยี่ยมชมสถาน/โรงงานบำบัดขยะมูลฝอย
คำสำคัญ : การจัดการขยะมูลฝอย , เทคโนโลยีการจัดการขยะ, ชนิดของขยะ, การลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3242  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน มธุรส ชัยหาญ  วันที่เขียน 5/10/2565 10:38:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:40:31
การอบรม สัมนา » EndNote โปรแกรมการจัดการข้อมูลบรรณานุกรม (citation manager software)
โครงการอบรมการใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote 20 สำหรับการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ" จัดขึ้นในวันที่ 8 มิ.ย.2565 โดยสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ : EndNote 20  โปรแกรมการจัดการข้อมูลบรรณานุกรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 805  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 12/9/2565 5:16:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:21:54
สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ "ราชภัฎหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 9" จัดขึ้น เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2564 โดยมีรูปแบบการจัดแบบออนไลน์
ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ คือ ด้านความพร้อมของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้านสื่อสารสนเทศ และด้านคุณภาพการจัดการเรียนรู
คำสำคัญ : การจัดการเรียนรู้  สื่อสารสนเทศ  อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1057  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 28/9/2564 1:47:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 7/7/2567 11:53:34
การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ » การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
โครงการอบรม การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการนี้ ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จากหัวข้อการอบรม ดังนี้ - ทราบแนวทางการบริหารจัดการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการและการจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย - ทราบการจัดการด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการตามแนวทางของคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ตามโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ESPReL ที่เน้น 7 ด้านสำคัญ ประกอบด้วย การบริหารระบบจัดการความปลอดภัย ระบบการจัดการสารเคมี ระบบการจัดการของเสีย ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การจัดการข้อมูลและเอกสาร - ทบทวนเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี หรือ SDS ภายใต้ระบบ GHS ที่เป็น ระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก นอกจากนี้ ได้ทบทวนการแยกเก็บสารเคมีและสารเคมีที่เข้ากันไม่ได้ ไม่ควรจัดเก็บที่เดียวกัน - ได้แนวทาง รูปแบบ การจัดการของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Waste Management) และแนวทางการลดการเกิดของเสียอันตรายด้วยหลักการ 4R คือ Reduce Reuse Replace Recycle - ได้แนวทาง รูปแบบ ระบบ CMU Waste Track การแจ้งของเสียของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ได้ความรู้ 1) ด้านแนวทางการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และอุบัติการณ์ในห้องปฏิบัติการ 2) อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ (Safety equipment) 3) การจัดการพฤติกรรมเสี่ยงและการประเมินความเสี่ยงในห้องปฏิบัติการ 4) การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการอย่างปลอดภัย
คำสำคัญ : การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1565  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 14/8/2564 10:52:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:36:36
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดลเป็นรูปแบบหนึ่งการจัดการเรียนการสอนที่บรรลุผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการพัฒนาโมเดล 5B บรรลุเป้ามายของการจัดการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอน  สุยโมเดล  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2040  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วิชาญ คงธรรม  วันที่เขียน 17/4/2563 9:17:43  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 11:42:26
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมสัมมนาหัวข้อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดการเรียนการสอน จากที่ผู้สอนบรรยาย (Lecture) อยู่หน้าชั้นเรียน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ซึ่งอาจจะทำในรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งทำให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน รวมทั้งผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ่งจะทำให้การเรียนรู้นั้นเป็นการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ทำให้นักศึกษาเข้าใจ และจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ยาวนาน ทำให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างดี
คำสำคัญ : Active Learning  การจัดการเรียนการสอน  วิธีประเมินผล  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2475  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 3/12/2562 22:23:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 9/7/2567 6:02:03
บริการสื่อโสตทัศน์ » KM บริการสารสนเทศภาพยนตร์
สืบเนื่องจากกิจกรรมการจัดการความรู้ (KM) ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีงบประมาณ 2563 การเติมเต็มความรู้ เมื่อ 18 พฤศจิกายน 2562 มีการกำหนดให้ประเมินโดยการวัดผลความรู้ก่อนและหลังกิจกรรม (pre-test, post-test) ด้วย ในการเติมเต็มความรู้ได้มีการถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับบริการสารสนเทศภาพยนตร์ นำเสนอในมุมมองผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด (ไม่ใช่มุมมองผู้ใช้บริการ) ซึ่งห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้ดำเนินการพัฒนาคอลเลคชันภาพยนตร์ และจัดทำฐานข้อมูลภาพยนตร์ทั้งในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST และระบบ Elib เสริมด้วยโปรแกรมสืบค้น Film_OPAC จนทำให้คอลเลคชันภาพยนตร์ของมหาวิทยาลัยจัดอยู่ในอันดับ Top 6 ของประเทศ และการลงรายการบรรณานุกรมหรือการจัดทำข้อมูลภาพยนตร์จัดอยู่ในอันดับ Top 1 ของประเทศ ซึ่งผู้ใช้บริการทั่วไปสามารถสืบค้นและใช้บริการสารสนเทศภาพยนตร์ได้จากระบบ ALIST OPAC (http://opac.library.mju.ac.th) และฐานข้อมูลภาพยนตร์ดีเด่น Elib + Film_OPAC (https://lib.mju.ac.th/film/) ในกระทู้ KM นี้นำเสนอเอกสาร pre-test, post-test ที่ใช้ทดสอบ แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ ก่อน-หลัง กิจกรรม KM (Pre-test, Post-test) หัวข้อ บริการสารสนเทศภาพยนตร์ 18 พฤศจิกายน 2562 ---------------------------------- ชื่อผู้ทดสอบ …………………………………………………… 1. สื่อโสตทัศน์ที่มีบริการในปัจจุบัน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) […] CD […] VDO tape […] เทปคาสเส็ท […] แผ่นเสียง […] สไลด์ […] แผนที่ […] ออนไลน์ […] Video on demand 2. คอลเลคชันภาพยนตร์ห้องสมุด มีรหัส/เลขหมู่/เลขเรียก คือ ……………… 3. คอลเลคชันภาพยนตร์ห้องสมุด ปัจจุบันมีจำนวนประมาณ ……………….. เรื่อง (titles) 4. ปัจจุบันห้องสมุดทำรายการภาพยนตร์เช่นไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) […] List รายชื่อและเลขรหัส […] MARC 21 […] RDA […] MetaData […] AACR2 5. ความละเอียดในการลงรายการภาพยนตร์ของห้องสมุด ม.แม่โจ้ เทียบกับห้องสมุดอื่นๆ (ตอบ>1ข้อ) […] Top3 (1ถึง3ของประเทศ) […] Top10 (4ถึง10ของประเทศ) […] ปานกลาง (เหมือนห้องสมุดทั่วไป) […] ด้อยกว่าห้องสมุดส่วนใหญ่ 6. เครื่องมือช่วยค้นหาสารสนเทศภาพยนตร์ที่ห้องสมุดมีบริการ มีอะไรบ้าง (ตอบได้>1) ………………………………………. ……………………………………………. ………………………………………. ……………………………………………. 7. ช่องทางการค้นหาและให้บริการสารสนเทศภาพยนตร์ มีอะไรบ้าง (เช่น ค้นตามชื่อภาพยนตร์) (ตอบได้>1) …………………… ………………… ……………… …………………… …………………. ………………… ……………… …………………… …………………. ………………… ……………… 8. ช่องทางการค้นหาสารสนเทศภาพยนตร์ ที่ยังไม่มีบริการมีอะไรบ้าง (ตอบได้ >1) …………………… …………………. ………………… ……………… …………………… …………………. ………………… ……………… 9. หากจะนำ CD ภาพยนตร์ไปเสนอร่วมกิจกรรม เช่น วันพ่อ วิกฤติเศรษฐกิจ การติดถ้ำ ฯลฯ จะค้นหา ได้จากช่องทาง ……………………. คำค้น ……………………………………………. 10. ข้อแตกต่างระหว่าง “OPAC ALIST” กับ “OPAC Film ภาพยนตร์ดีเด่น” มีอะไรบ้าง (ตอบได้>1) ………………………………………. ……………………………………………. ………………………………………. ……………………………………………. ------------------------ แนวคำตอบ 1. สื่อโสตทัศน์ที่มีบริการในปัจจุบัน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) [./.] CD […] VDO tape […] เทปคาสเส็ท […] แผ่นเสียง […] สไลด์ […] แผนที่ [./.] ออนไลน์ [./.] Video on demand 2. คอลเลคชันภาพยนตร์ห้องสมุด มีรหัส/เลขหมู่/เลขเรียก คือ…CDT… [วิชาการ CDA, CDE, CDS] 3. คอลเลคชันภาพยนตร์ห้องสมุด ปัจจุบันมีจำนวนประมาณ …3,200.. เรื่อง (titles) [+/- 10% ok] 4. ปัจจุบันห้องสมุดทำรายการภาพยนตร์เช่นไร (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) […] List รายชื่อและเลขรหัส [./.] MARC 21 […] RDA […] MetaData [./.] AACR2 5. ความละเอียดในการลงรายการภาพยนตร์ของห้องสมุด ม.แม่โจ้ เทียบกับห้องสมุดอื่นๆ (ตอบ>1ข้อ) [./.] Top3 (1ถึง3ของประเทศ) […] Top10 (4ถึง10ของประเทศ) […] ปานกลาง (เหมือนห้องสมุดทั่วไป) […] ด้อยกว่าห้องสมุดส่วนใหญ่ 6. เครื่องมือช่วยค้นหาสารสนเทศภาพยนตร์ที่ห้องสมุดมีบริการ มีอะไรบ้าง (ตอบได้>1) …OPAC ALIST……………………. … OPAC Film ฐานภาพยนตร์ดีเด่น …………. …แฟ้มประเภท (genre) ภาพยนตร์ …. … บอร์ดแนะนำ ….……………………………. 7. ช่องทางการค้นหาและให้บริการสารสนเทศภาพยนตร์ มีอะไรบ้าง (เช่น ค้นตามชื่อภาพยนตร์) (basic) ชื่อเรื่อง (+เพิ่ม) ชื่อบุคคล (ผู้กำกับ นักแสดง ฯลฯ) หัวเรื่อง เลขรหัส/หมู่ (add.) ภาพปก เรื่องย่อ ภาพยนตร์ใหม่ ประเภท ประเทศ รางวัล รายได้ Top 10 การเข้าฉาย ปี ถาม บร. 8. ช่องทางการค้นหาสารสนเทศภาพยนตร์ ที่ยังไม่มีบริการมีอะไรบ้าง (ตอบได้ >1) คะแนน Rating กลุ่มผู้ชม บริษัทผู้สร้าง Keyword (Assigned) รางวัล (+) ชื่อตัวละคร Plot คำคม Reference การโยง Thesaurus ภาพยนตร์ใกล้เคียง ภาพ Boolean App. 9. หากจะนำ CD ภาพยนตร์ไปเสนอร่วมกิจกรรม เช่น วันพ่อ วิกฤติเศรษฐกิจ การติดถ้ำ ฯลฯ จะค้นหา ได้จากช่องทาง …หัวเรื่อง ………………. คำค้น …บิดา วิกฤติเศรษฐกิจ ถ้ำ …. 10. ข้อแตกต่างระหว่าง “OPAC ALIST” กับ “OPAC Film ภาพยนตร์ดีเด่น” มีอะไรบ้าง (ตอบได้>1) 1. user interface, design ALIST ค้นสื่อรวมทุกประเภท ; OPAC Film ฐานเฉพาะทาง ค้นง่าย 2. คอลเลคชัน (scope, size) ALIST เฉพาะที่มีในห้องสมุด ; OPAC Film มีนอกเหนือ 3. สถานภาพ Item ALIST เชื่อมกับระบบยืมคืน ; OPAC Film ไม่เชื่อม (พัฒนาได้) 4. อื่นๆ (ระบุ) ………………………………………………………………………………….. ------------------------
คำสำคัญ : KM  การจัดการความรู้  ฐานข้อมูล  ดรรชนี  บริการของห้องสมุด  ภาพยนตร์  สื่อโสตทัศน์  ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานห้องสมุด
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2358  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุธรรม อุมาแสงทองกุล  วันที่เขียน 21/11/2562 9:34:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 2:04:35
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2562 (AMM 2019)
การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2562 “The 24th Annual Meeting in Mathematics” (AMM 2019) ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างวันที่ 15-17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ตามใบขออนุมัติเดินทางไปปฏิบัติงาน ที่ ศธ 0523.4.5/153 ลงวันที่ 23 เดือนเมษายน พ.ศ. 2562 และใบขออนุมัติขยายระยะเวลาการเดินทางเข้าร่วมประชุมวิชาการฯ ที่ ศธ 0523.4.5/182 ลงวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2562
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์  การนำเสนอผลงานวิจัยทางคณิตศาสตร์  การประยุกต์ทางคณิตศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2930  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 19/6/2562 16:02:04  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:31:28
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learner ที่มีคุณลักษณะ Soft skill
การจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันซึ่งเป็นยุคดิจิตัล ยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร จะทำอย่างไรให้ผู้เรียนเรียนได้อย่างสนุกและมีความสุข มีความน่าสนใจตลอดเวลา การทำให้นักศึกษามีทักษะต่างๆ ที่ต้องการ การใช้เทคโนโลยีมาช่วยเป็นสิ่งจำเป็นและทำได้ไม่ยากเกินไป เช่น Google Classroom
คำสำคัญ : Active Learner  Google Classroom  Soft Skill  การจัดการเรียนการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3484  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:57:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:32:21
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน
การเรียนการสอนในปัจจุบันจะต้องเปลี่ยนจากการบรรยาย เป็นการลงมือปฏิบัติ ซึ่งวิธีการหนึ่ง คือ การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมด้วย
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอน  การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3088  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 2/4/2562 23:15:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:27:12
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน
การเรียนการสอนในปัจจุบันจะต้องเปลี่ยนจากการบรรยาย เป็นการลงมือปฏิบัติ ซึ่งวิธีการหนึ่ง คือ การนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมด้วย
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอน  การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3088  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 2/4/2562 23:15:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:27:12
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานด้านการจัดการห้องปฏิบัติการ
การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานด้านการจัดการห้องปฏิบัติการ • การจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ เพื่อเตรียมพร้อมรับอุบัติเหตุและภาวะฉุกเฉิน เพื่อรักษาและป้องกันชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในองค์กร เพื่อช่วยลดความเสียหายและความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินนำไปสู่การลด ต้นทุนค่าใช้จ่ายในเรื่องอุบัติเหตุและค่ารักษาพยาบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในด้านความปลอดภัยแก่บุคลากรในองค์กรส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้น
คำสำคัญ : การจัดการห้องปฏิบัติการ  การปฏิบัติงาน  พัฒนาทักษะ  มาตรฐานความปลอดภัย  ห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3712  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 8/3/2560 21:47:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 11/7/2567 2:37:36
การศึกษา » KM พระเอก...ขององค์กร
การเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโครงการ"ก้าวแรกการจัดการความรู้(KM the 1 day) ครั้งนี้ นอกจากจะได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรู้(Knowledge Management) อย่างถูกต้อง ชัดเจน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานในหน้าที่ที่ปฏิบัติได้แล้ว สิ่งที่ได้รับยิ่งกว่านั้นคือมิตรภาพอันงดงามที่ก่อเกิดขึ้นมาะหว่างบุคลากรที่เข้ามารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน...
คำสำคัญ : KM  Knowledge Management  การจัดการความรู้  คณะผลิตกรรมการเกษตร  ปาณิศา คงสมจิตต์  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ห้องสมุด  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3495  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 2  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 25/5/2559 14:55:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/7/2567 2:22:37
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา » การฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา(หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT))
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา(หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT))
คำสำคัญ : การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการในระดับอุดมศึกษา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3711  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมชาย อารยพิทยา  วันที่เขียน 30/3/2559 23:23:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 13:44:14
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง " Self Biography Study" » การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง " Self Biography Study"
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง " Self Biography Study" จัดโดย ดร. อรุโณทัย ไชยช่วย วันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมฮอลิเดย์การ์เด็น จ. เชียงใหม่ พูดถึงการจัดการเรียนการสอนแบบวอลดอร์ฟ ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบธรรมชาติ หรือเป็นการสอนเด็กไปตามพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก มีรากฐานมาจากมนุษยปรัชญา (Anthroposophy) โดย ดร.รูดอร์ฟ สไตเนอร์ (Rudolf Steiner) การสอนแบบนี้จะทำให้เด็กโตขึ้นหรืออายุย่างเข้า 21 ปี เขาจะรู้จักตัวตนของตนเอง รู้ว่าต้องการอะไรหรือมีเป้าหมายในชีวิตอย่างไร ซึ่งต่างจากการสอนทั่วไป
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอนแบบธรรมชาติ  การศึกษา  วอลดอร์ฟ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4433  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลลิดา ภู่ทอง  วันที่เขียน 4/3/2559 17:26:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 21:03:38
ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์แผน » สรุปหัวข้อการเข้าร่วมโครงการสัมมนาหลักสูตร "การพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการ"
ทักษะการบริหารและตัดสนใจ การค้นให้พบพูดให้ดี ฟังให้ถ้วนถี่ ให้เข้าใจหัวใจเป้าประสงค์รวมทีมร่วมทำ ผลัดกันแชร์ ผลัดกันเชื่อมโยงทั้งองค์กร จะก่อประสานผ่านวิกฤตเป็นหนึ่งเดียว ยึดหลักธรรมจริยธรรมนำพาและก้าวไป ค้นให้พล รู้จักตัวเอง รู้จักเพื่อน รู้จักองค์กร อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ แห่งความเป็นตัวตน การแก้ปัญหาและตัดสินใจ Head Heart Hand : จากหนึ่งความคิดสู่การทำงานเป็นกลุ่ม ผ่านการเปิดใจรับฟัง และสรุปกระบวนการสู่การลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน การสื่อสารเพื่อการจัดการ Head Heart Hand : ค้นให้พบ พูดให้ชัดเจน ฟังให้ถ้วนถี่ ให้ความเข้าใจคนฟัง จะเกิดผล ทั้งเราและองค์กร เติบโตได้ด้วยมือเรา เริ่มจากการสื่อสารที่ดี
คำสำคัญ : Team Management  การแก้ปัญหาและตัดสินใน  การสื่อสารเพื่อการจัดการ  ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลง  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานนโยบายและแผน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 10588  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 22/9/2558 11:03:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 10:52:26
การเผยแพร่ความรู้จากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย เรื่อง Catalytic Conversations on Learning and the Road Ahead
การจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ต้องมีการปรับเปลี่ยน เนื่องจากลักษณะของผู้เรียนในปัจจุบัน แตกต่างจากผู้เรียนในอดีต การจัดการเรียนการสอนที่ใช้กิจกรรมเข้ามาประกอบจะทำให้การเรียนการสอนประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ : การจัดการเรียนการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3392  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 8/9/2557 8:59:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:40:47
เรื่องนี้ต้องแบ่งปัน » การจัดการองค์ความรู้ในองค์กรและกระบวนการ KM
การจัดการความรู้ในองค์กรและกระบวนการจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) 7 ขั้นตอน ที่จะช่วยทำให้คุณไม่เป็นรองใครในการจัดทำกิจกรรม KM
คำสำคัญ : Knowledge Management  กระบวนการจัดการความรู้  การจัดการองค์ความรู้  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 18303  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 16/2/2557 13:29:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/7/2567 23:57:54
เรื่องนี้ต้องแบ่งปัน » การจัดการองค์ความรู้ในองค์กรและกระบวนการ KM
การจัดการความรู้ในองค์กรและกระบวนการจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) 7 ขั้นตอน ที่จะช่วยทำให้คุณไม่เป็นรองใครในการจัดทำกิจกรรม KM
คำสำคัญ : Knowledge Management  กระบวนการจัดการความรู้  การจัดการองค์ความรู้  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 18303  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 16/2/2557 13:29:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/7/2567 23:57:54
ภูมิทัศน์สัญจร » การจัดการและดูแลรักษางานภูมิทัศน์นครซานฟรานซิสโก
ความสวยงามเป็นระเบียบของภูมิทัศน์นครซานฟรานซิสโกนั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับหน่วยงานภาครัฐแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่ยังอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชน ที่ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษาพรรณไม้ และองค์ประกอบทางภูมิทัศน์อื่นๆ ในพื้นที่ถนนสาธารณะ เห็นได้จากการรวมกลุ่มกันจัดตั้งองค์กรอาสาสมัครที่ไม่หวังผลกำไร
คำสำคัญ : การจัดการ  การดูแลรักษา  งานภูมิทัศน์  จรัสพิมพ์  ซานฟรานซิสโก  บุญญานันต์  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 13612  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 13/1/2554 17:50:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:19:05