รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ
วันที่เขียน 17/4/2563 9:17:43     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 13:16:01
เปิดอ่าน: 2041 ครั้ง

การศึกษาการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดลเป็นรูปแบบหนึ่งการจัดการเรียนการสอนที่บรรลุผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการพัฒนาโมเดล 5B บรรลุเป้ามายของการจัดการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)

ข้าพเจ้านายวิชาญ คงธรรม ได้สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 13 ด้านการเรียนการสอน มีดังนี้ การศึกษาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วยการจัดการเรียนการสอน 5 ขั้นตอน คือ 1)สร้างแรงบันดาลใจและแรงจูงใจเพื่อดึงดูดให้ผู้เรียนเกิดความต้องการในการเรียนรู้ 2)เสาะหาความรู้เดิมของผู้เรียนก่อนที่จะเรียนในแต่ละครั้ง 3)สุข/สนุก โดยสร้างกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกกับการเรียน 4)สำเร็จ ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินในรายวิชา และ 5)สุย เป็นการผลักดัน ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ได้เร็ว ตาม[1] และการพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติโดยใช้ 5B Model บรรลุผลตาม[2] และจากการเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ข้าพเจ้าได้นำแนวคิดมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยปรับใช้กับราย วิชาฟส 101 ฟิสิกส์เชิงมโนทัศน์ ที่ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบสอนในภาคเรียนที่ 2/2562 ซึ่งได้ผลดี นักศึกษามีความสนใจต่อการเรียนมากขึ้น มีการทำงานเป็นทีม ได้แบ่งปันแนวคิดของตนเองและได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการจัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนในเนื้อหาความร้อน มีการจัดทำเตาชีวมวลปีบ ซึ่งได้ผลผลิตที่ทุกคนร่วมกันทำงานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได และผลจากการตั้งใจเรียนทำให้นักศึกษาได้เกรด A เป็นส่วนใหญ่

เอกสารอ้างอิง

[1] พิสุทธิ์ และคณะ. การศึกษาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติจาการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดลของมหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 13. 2563, 1-8.

[2] วสุพล เผือกนำผล และคณะ. การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแ่งชาติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 13. 2563, 51-61.

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1100
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง