การจัดการมลพิษของเสียห้องปฏิบัติการ
วันที่เขียน 30/8/2567 15:33:58     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:55:18
เปิดอ่าน: 92 ครั้ง

การจัดการมลพิษของเสียห้องปฏิบัติการ

1.มีมาตรการการจัดการขยะของเสียอย่างเหมาะสม

 1.1ลดปริมาณขยะ (reduce)

 1.2ใช้ซ้ำ (reuse)

 1.3นำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

2.มีมาตรการการจัดการน้ำเสีย

  2.1  ไม่ทิ้งสารที่อันตรายลงในอ่างล้างควรมีภาชนะแยกจัดเก็บเพื่อนำไปกำจัดทิ้งให้ถูกต้องตามขบวนการเพื่อลดปริมาณสารพิษที่จะไหลกลับลงสู่ธรรมชาติเป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อม

  2.2 เลือกใช้น้ำยาหรือสารทำความสะอาดที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

  2.3 มีการบำบัดน้ำทิ้งก่อนทิ้งอย่างเหมาะสม

  1. มีการจัดการมลพิษทางอากาศอย่างเหมาะสม

  3.1 มีการจัดการกลิ่นจากสารเคมีโดยการใช้ตู้ดูดควันเพื่อป้องกันมลพิษกระจาย

  3.2มีการจัดเก็บสารในตู้เก็บสารที่มีระบบดูดควันพิษเพื่อให้อากาศในห้องปฏิบัติการมีสภาพอากาศที่ดีเหมาะสมสำหรับการทำงาน

   3.3 มีการจัดการสภาพอากาศที่ดีทำให้อากาศถ่ายเทสะดวก

  1. มีการจัดการดำเนินกิจกรรม 5 ส อย่างสม่ำเสมอเพื่อจัดการพื้นที่ในห้องปฏิบัติการให้สะอาดเป็นระเบียบทำงานได้สะดวกปลอดภัยป้องกันอุบัติเหตุที่จะเกิดจากการทำงานและทำให้ห้องทำงานเป็นระเบียบเรียบร้อย
  2. มีมาตรการเตรียมความพร้อมและตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน

 5.1มีการจัดการในการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม ระงับเหตุฉุกเฉิน เช่นกรณีที่เกิดอุบัติเหตุสารเคมีหกต้องมีชุดอุปกรณ์เบื้องต้นเตรียมไว้เพิ่อจัดการไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและต่อผู้ปฏิบัติงาน

 5.2มีการตรวจสอบและเช็คระบบความปลอดภัยของอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ระงับเหตุฉุกเฉิน

 

 

การจัดการมลพิษของเสียที่ดีและเหมาะสมจะทำให้ตัวเราและองค์กรปลอดภัยจากมลพิษที่เกิดขึ้นทำให้สุขภาพร่างกายปราศจากโรคภัยที่เกิดจากการทำงานช่วยให้สภาพแวดล้อมในการทำงานปลอดภัยและช่วยประหยัดงบประมาณให้องค์กรในการจัดการงบประมาณค่าใช้จ่ายและสิ่งที่สำคัญคือความตระหนักรู้ถึงการจัดการขยะและมลพิษที่ถูกต้องช่วยให้สภาพแวดล้อมปลอดภัยและช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้เบื้องต้น

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1491
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
รุ่งทิพย์ กาวารี » #SFC เทคนิคการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เทคนิคโครมาโตกราฟีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ใช้คอลัมน์แบบเปิดในการแยกสาร ซึ่งใช้เวลานานมาก มีความละเอียดต่ำ มีอัตราการไหลต่ำ (ขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วง) การทำ Gradient ไม่สามารถทำได้ และจำเป็นต้องมี...
Flash  HPLC  Prep HPLC  SFC  Supercritical Fluid Chromatography     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 17/11/2567 16:18:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:45:19   เปิดอ่าน 139  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 14:12:21   เปิดอ่าน 277  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:55:17   เปิดอ่าน 361  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:01:52   เปิดอ่าน 180  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง