เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
Blog : การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
รหัสอ้างอิง :
393
ชื่อสมาชิก :
วิชาญ คงธรรม
เพศ :
ชาย
อีเมล์ :
wichan_k@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก :
บุคลากรภายใน [
สังกัด
]
ลงทะเบียนเมื่อ :
1/4/2554 17:31:33
แก้ไขล่าสุดเมื่อ :
1/4/2554 17:31:33
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
1
จากการได้ศึกษาเรียนรู้ผลงานวิจัยของนักวิชาการหลายท่านและผลงานของผู้เขียน ซึ่งผู้เขียนได้สนใจงานวิจัยทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ จึงได้สรุปประเด็นหลักในแง่มุมของการเรียนวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ และความจำเป็นของการแก้ไขแนวคิดที่คลาดเคลื่อน มีดังนี้ การเรียนรู้เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นนามธรรม สิ่งที่มีขนาดเล็กหรือโตเกินไป เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วหรือมองไม่เห็น เช่น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับคลื่น เป็นต้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน ถึงแม้ว่า ผู้เรียนจะได้ทำโจทย์ตัวอย่างและทำแบบฝึกหัดโดยใช้แนวจากการทำโจทย์ตัวอย่างคำนวณได้ถูกต้องก็ตาม แต่เมื่อใช้ข้อสอบตรวจวินิจฉัยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้สัมภาษณ์ประกอบในการตรวจสอบมักจะพบว่า ผู้เรียนยังมีแนวคิดที่คลาดเคลื่อนอยู่และแนวคิดที่คลาดเคลื่อนนี้มักจะมีกับผู้เรียนทั่วไปในโลก แนวคิดที่คลาดเคลื่อนดังกล่าวมักจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยากและติดตัวผู้เรียนไป เมื่อจบการศึกษาและไปประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นหรือสาธารณชน ถ้าสิ่งนั้นเกี่ยวกับความรู้ที่เป็นแนวคิดที่คลาดเคลื่อนของเขาอยู่ ก็จะทำให้เกิดความเสียหายได้ ดังนั้นผู้สอนในเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้เรียนส่วนมากในโลกนี้มีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า ผู้เรียนไม่มีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน หรือได้รับการแก้ไขแล้ว เช่นวิศวกรที่ทำการออกแบบและสร้างยวดยานพาหนะที่ใช้กับสาธารณะชน แต่เขาเข้าใจแนวคิดที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับกฎข้อที่หนึ่งของนิวตันอยู่ หรือนายแพทย์ที่สั่งให้ใช้เครื่องมือเกี่ยวกับฟิสิกส์กับผู้ป่วย แต่เขามีแนวคิดที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ซึ่งเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่องมือนั้น ย่อมทำให้เกิดความเสียกับผู้ป่วยหรือสาธารณชนได้ เป็นต้น
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ"การประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 12"
การนำความรู้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 12 เรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนแก้ปัญหาโจทย์โพรเจกไทล์โดยวิธีการทางแคลคูลัส โดยการนำผลการวิจัย และเครื่องมือในการวิจัยโดยเฉพาะวิธีการแก้โจทย์โพรเจกไทล์ แบบใหม่คือการใช้แคลคูลัสแทนพีชคณิต ซึ่งทำให้การแก้ปัญหาโจทย์ฯ ง่ายขึ้นไม่ซับซ้อน และมากกว่านั้นทำให้ผู้เรียนไม่หนีการเรียนวิชาฟิสิกส์ที่คิดว่าเป็นวิชาที่ยาก
คำสำคัญ :
ทฤษฎีภาระการทำงานของสมอง
ปัญหาโจทย์โพรเจกไทล์
วิธีการทางแคลคูลัส
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1207
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
31/3/2565 13:31:43
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 16:23:42
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์: การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียน
การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียนเป็นส่วนสำคัญที่ผู้สอนต้องตระหนักและต้องกระทำก่อนที่จะมีการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ทราบถึงพื้นฐานความรู้ที่ผู้เรียนมีต่อเรื่อง นั้น ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทำให้การจัดการเรียนการสอนในเรื่องนั้นๆ มีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ :
มโนทัศน์ มโนทัศน์คลาดเคลื่อน
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1497
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
25/3/2564 21:24:36
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 16:24:40
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดลเป็นรูปแบบหนึ่งการจัดการเรียนการสอนที่บรรลุผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการพัฒนาโมเดล 5B บรรลุเป้ามายของการจัดการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
คำสำคัญ :
การจัดการเรียนการสอน
สุยโมเดล
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2090
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
17/4/2563 9:17:43
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 16:23:47
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
ตลาดแรงงานของบัณฑิตฟิสิกส์ยุคศตวรรษที่ 21
ความต้องการของตลาดแรงงานด้านสะเต็มซึ่งมีงานหลากหลายที่สอดคล้องกับความรู้และทักษะของนักฟิสิกส์
คำสำคัญ :
ตลาดแรงงาน บัณฑิตฟิสิกส์ ยุคศตวรรษที่ 21
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2590
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
3/9/2561 20:36:47
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 15:23:50
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
ฟิสิกส์กับสนุกเกอร์
ความรู้ทางฟิสิกส์สามารถนำไปอธิบายกีฬาสนุกเกอร์ได้เป็นอย่างดี
คำสำคัญ :
ความรู้ทางฟิสิกส์ สนุกเกอร์
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
5595
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
3/9/2561 20:30:50
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 14:52:57
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
สะเต็มศึกษากับนาโนเทคโนโลยี
การนำความรู้ทางด้านนาโนเทคโนโลยี เรื่อง ท่อนาโนคาร์บอน มาจัดเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติของท่อนาโนคาร์บอนผนังเดียวชนิดต่าง ๆ สร้างแบบจำลองของท่อนาโนคาร์บอนผนังเดียวชนิดต่าง ๆ การใช้เทคนิค Stop Motion แสดงการม้วนตัวแผ่นกราฟีนเป็นท่อนาโนคาร์บอน และการใช้ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเวกเตอร์
คำสำคัญ :
สะเต็มศึกษา นาโนเทคโนโลยี
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
3483
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
25/3/2561 23:36:18
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 16:21:30
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาด้านพลังงาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาด้านพลังงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการให้ความรู้ด้านพลังงาน ในเรื่องปิโตรเลียม
คำสำคัญ :
สะเต็มศึกษา พลังงาน
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2943
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
25/3/2561 23:30:48
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:02:06
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
ถอดรหัสผู้นำสารจากอวกาศ
จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในโรงเรียน (วทร.23) ข้าพเจ้าขอนำบทความที่ประทับใจเรื่องถอดรหัสผู้นำสารจากอวกาศเพื่อเผยแพร่ เพื่อประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์
คำสำคัญ :
รังสีคอสมิก ซูเปอร์โนวา
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
4641
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
25/3/2561 12:56:57
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 8:31:01
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน: งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่27
ปัจจุบันต้องการงานวิจัยที่ใช้ประโยชน์ได้จริง องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย อาจารย์สามารถนำไปแก้ปัญหาในธุรกิจภาครัฐและเอกชนได้
คำสำคัญ :
ผลงานวิจัยที่ใช้ประโยชน์ได้จริง
รายได้ของอาจารย์และมหาวิทยาลัย
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2857
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
25/8/2560 11:27:18
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 15:33:34
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
»
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และแนวคิดที่คลาดเคลื่อน
บทความนี้เป็นประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และความสำคัญของการแก้ไขแนวคิดที่คลาดเคลื่อนของผู้เรียน ซึ่งถ้าไม่ได้แก้ไขแนวคิดของผู้เรียนที่มีแนวคิดที่คลาดเคลื่อน ให้มีแนวคิดที่ถูกต้องแล้ว อาจส่งผลเสียหายต่อผู้อื่นหรือสาธารณชนได้
คำสำคัญ :
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวคิดที่คลาดเคลื่อน
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2753
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วิชาญ คงธรรม
วันที่เขียน
1/9/2559 17:06:04
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 6:39:38
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
https://erp.mju.ac.th/blog.aspx?bid=424