รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : ความปลอดภัย
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist)
จากการเข้าร่วมอบรมมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist) ในวันที่ 4 ธันวาคม 2567 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้น จึงมาแชร์ความรู้ที่น่าสนใจที่ได้รับจากวิทยากรผู้มากประสบการณ์ในงานด้านมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ รศ.ดร.นัทที สุรีย์ รักษาการผู้แทนผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภวิทยาแวดล้อมในการทำงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  ห้องปฏิบัติการ  อบรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 209  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 17/1/2568 19:01:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 15:25:13
งานวิจัยปวีณา » การพัฒนาตนเองจากการเข้าร่วมอบรม มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี (ESPReL Checklist)
มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีตามเกณฑ์ ESPReL Checklist ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ดังนี้ 1) การบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย 2) ระบบการจัดการสารเคมี 3) ระบบการจัดการของเสีย 4) ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือประกอบด้วย 5) ระบบการป้องกัน และแก้ไขภัยอันตราย 6) การใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ 7) การจัดการข้อมูลและเอกสาร
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 172  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปวีณา ภูมิสุทธาผล  วันที่เขียน 3/1/2568 12:42:59  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 20:57:35
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะที่การรักษาความปลอดภัยเน้นการควบคุมการเข้าถึงและการใช้สิ่งมีชีวิตหรือสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูง หากมีความรู้และทักษะที่ได้จากการฝึกอบรมจะช่วยป้องกันอันตรายทางชีวภาพ และส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมให้มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 1. เพิ่มความรู้และทักษะที่จำเป็นในการจัดการกับสารชีวภาพอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ 2. ป้องกันอุบัติเหตุ ทำให้ลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุและการติดเชื้อจากการทำงานกับสารชีวภาพที่อาจเป็นอันตราย 3. เพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ 4. ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงมาตรฐานและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทำให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับข้อกำหนดทางกฎหมาย 5. เพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และ 7. ป้องกันการปนเปื้อน ทำให้ลดโอกาสของการปนเปื้อนที่อาจส่งผลต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการทดลอง
คำสำคัญ : การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1058  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:18:46
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะที่การรักษาความปลอดภัยเน้นการควบคุมการเข้าถึงและการใช้สิ่งมีชีวิตหรือสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูง หากมีความรู้และทักษะที่ได้จากการฝึกอบรมจะช่วยป้องกันอันตรายทางชีวภาพ และส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมให้มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 1. เพิ่มความรู้และทักษะที่จำเป็นในการจัดการกับสารชีวภาพอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ 2. ป้องกันอุบัติเหตุ ทำให้ลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุและการติดเชื้อจากการทำงานกับสารชีวภาพที่อาจเป็นอันตราย 3. เพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ 4. ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงมาตรฐานและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทำให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับข้อกำหนดทางกฎหมาย 5. เพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และ 7. ป้องกันการปนเปื้อน ทำให้ลดโอกาสของการปนเปื้อนที่อาจส่งผลต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการทดลอง
คำสำคัญ : การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1058  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:18:46
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
คำสำคัญ : การใช้เทคโนโลยีอย่างรับผิดชอบ  ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของข้อมูล  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 213  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:45:40  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 8:04:22
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเครื่องอุปโภค บริโภค ยารักษาโรค เพื่อช่วยในการดำรงชีวิตมีความสะดวกสบาย สารเคมีเหล่านี้มีประโยชน์มากมายแต่ก็สามารถก่อให้เกิดโทษได้เช่นกัน หากขาดความระมัดระวังในการใช้งานหรือการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ทั้งยังส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมโดยตรงและทางอ้อม เนื่องมาจากการบริโภคโดยตรงหรือได้รับพิษจากการตกค้าง สำหรับกลุ่มผู้ใช้สารเคมีโดยตรง เช่นนักวิจัย อาจารย์ กลุ่มนักเรียน นักศึกษา พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมและตลอดจนเกษตรกรที่มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับอันตรายจากสารเคมี จึงเป็นกลุ่มที่ต้องมีความใส่ใจในการหาความรู้และศึกษาถึงประโยชน์ และโทษ จำเป็นต้องมีความสามารถและความชำนาญในการใช้ รวมถึงการเก็บรักษาและการกำจัดสารเคมีที่เหลือหรือหลังจากการใช้งาน เพื่อเกิดความปลอดภัยสูงสุดต่อตนเอง หรือผู้ใกล้ชิดตลอดจนการคำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยจากสารเคมีดังกล่าว ที่อาจส่งผลในระยะยาวต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
คำสำคัญ : ความปลอดภัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 960  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:23:33
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเลขทะบียนห้องปฏิบัติการ สำคัญกับการกรอกข้อมูลในการขอทุนวิจัย การใช้ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับสารเคมี เป็นประเด็นที่ถูกดำเนินการใน วช. เรื่องมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ในระบบ NRIIS เป็นการบังคับในการกรอกข้อมูล ในอนาคตนักวิจัยหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผลผลิตที่ท่านได้ มีการสืบย้อนกลับต้องไม่เป็นโทษต่อสิ่งแวดล้อม เป็นข้อหนึ่งในการพิจารณาในการพิจารณาการให้ทุนของ วช.
คำสำคัญ : Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 276  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:26:15
คู่มือหมวด 5 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย » การดำเนินการ สำนักงานสีเขียว หมวด 5 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
คำสำคัญ : สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย  สำนักงานสีเขียว  หมวด 5  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 301  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน หทัยชนก ผิวผ่อง  วันที่เขียน 21/9/2566 11:47:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 18:02:04
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11
จากการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11 ระหว่างวันที่ 22- 23 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีเนื้อหาประกอบด้วยหลักสูตรการอบรมและการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างทักษะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้องค์ความรู้เพื่อสามารถนำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา/ผู้ปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติงานในหมวดวิชาที่รับผิดชอบ และปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการกลางของสาขาวิชาฯ เพื่อป้องกันอันตรายและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานวิจัยของตนเองอีกด้วย
คำสำคัญ : Biosafety  Biosecurity  การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ  ความปลอดภัยทางชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 292  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 9/9/2566 13:08:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:26:12
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11
จากการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11 ระหว่างวันที่ 22- 23 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีเนื้อหาประกอบด้วยหลักสูตรการอบรมและการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างทักษะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้องค์ความรู้เพื่อสามารถนำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา/ผู้ปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติงานในหมวดวิชาที่รับผิดชอบ และปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการกลางของสาขาวิชาฯ เพื่อป้องกันอันตรายและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานวิจัยของตนเองอีกด้วย
คำสำคัญ : Biosafety  Biosecurity  การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ  ความปลอดภัยทางชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 292  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 9/9/2566 13:08:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:26:12
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » ASEAN DIGTAL LITERACY PROGRAMME หัวข้อ ประเภทข้อมูลบิดเบือน
จุดประสงค์ของการอบรมเพื่อลดผลกระทบในเชิงลบของข้อมูลบิดเบือนในประเทศสมาชิกอาเซียนและสร้างภูมิคุ้มกันต่อข้อมูลบิดเบือน และข้อมูลเท็จให้แก่ชุมชนในภูมิภาค พบว่าประเทศไทยมีการพัฒนาด้านดิจิตอลและมีสถิติการใช้งานอินเทอร์เนตและโซเชียลมีเดียสูงเป็นอันดับ 3 ของโลก ขณะเดียวกันอาชญากรทางด้านไซเบอร์ได้มีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นเท็จบิดเบือนโฆษณาชักจูงประชาชนให้หลงเชื่อแบบผิดๆ และหลอกลวงให้แชร์ หรือบางครั้งเราเรียก Fake News
คำสำคัญ : ข้อมูลบิดเบือน  ความปลอดภัยการใช้อินเทอร์เนต  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 563  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วรรณวิมล นาดี  วันที่เขียน 1/2/2566 15:24:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 8:04:21
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการภาคเหนือตอนบน ประจำปี 2564 ภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และการเตรียมความพร้อมของห้องปฏิบัติการเพื่อเข้าสู่การตรวจประเมินและรองรับห้องปฏิบัติการปลอดภัยเพื่อการยอมรับร่วม (peer evaluation)
การพัฒนาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ หน่วยงาน/องค์กร ต้องมีการกระตุ้นในทุกระดับทั้งระดับองค์กร มหาวิทยาลัย หน่วยงาน คณะ/ภาควิชาและห้องปฏิบัติการ มีแผนยุทธศาสตร์เพื่อใช้ขับเคลื่อนและดำเนินงานด้านความปลอดภัย รวมถึงการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานและการอบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัย ซึ่งห้องปฏิบัติการสามารถการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการด้วยการใช้ ESPReL Checklist ในการตรวจประเมินและสำรวจเพื่อนำมาวิเคราะห์และจัดทำแผนการพัฒนายกระดับด้านมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ และสามารถขอตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการเพื่อให้เกิดการยอมรับร่วม (peer evaluation) ต่อไปได้
คำสำคัญ : ESPReL Checklist  กลุ่มช่วยวิชาการ  การขอตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการใน peer evaluation  มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  อบรมonline  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2631  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 21/12/2564 12:37:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:26:10
การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ » การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
โครงการอบรม การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการนี้ ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จากหัวข้อการอบรม ดังนี้ - ทราบแนวทางการบริหารจัดการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการและการจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย - ทราบการจัดการด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการตามแนวทางของคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ตามโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ESPReL ที่เน้น 7 ด้านสำคัญ ประกอบด้วย การบริหารระบบจัดการความปลอดภัย ระบบการจัดการสารเคมี ระบบการจัดการของเสีย ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การจัดการข้อมูลและเอกสาร - ทบทวนเอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี หรือ SDS ภายใต้ระบบ GHS ที่เป็น ระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก นอกจากนี้ ได้ทบทวนการแยกเก็บสารเคมีและสารเคมีที่เข้ากันไม่ได้ ไม่ควรจัดเก็บที่เดียวกัน - ได้แนวทาง รูปแบบ การจัดการของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Waste Management) และแนวทางการลดการเกิดของเสียอันตรายด้วยหลักการ 4R คือ Reduce Reuse Replace Recycle - ได้แนวทาง รูปแบบ ระบบ CMU Waste Track การแจ้งของเสียของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ได้ความรู้ 1) ด้านแนวทางการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และอุบัติการณ์ในห้องปฏิบัติการ 2) อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ (Safety equipment) 3) การจัดการพฤติกรรมเสี่ยงและการประเมินความเสี่ยงในห้องปฏิบัติการ 4) การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการอย่างปลอดภัย
คำสำคัญ : การจัดการสารเคมี ของเสียอันตราย และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1722  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 14/8/2564 10:52:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 7:47:33
พัฒนาตนเอง -นงคราญ » สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการระยะที่ 5 ครั้งที่ 2
เครื่องมือในการบริหารจัดการความปลอดภัยห้องปฏิบัติการพื้นฐานสำหรับห้องปฏิการที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับสารเคมีควรใช้ คือ ESPReL โดย ESPReL เป็นเครื่องมือในการประเมินเบื้องต้นและเป็นระบบออนไลน์ ผลของการประเมินจะออกมาในรูปของคะแนน โดยคะแนนจะเป็นตัวบอกว่ามีความเสี่ยงมากหรือน้อย เพื่อที่ห้องปฏิบัติการจะได้ประเมินและดำเนินการแก้ไขปรับปรุงให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยได้
คำสำคัญ : ESPReL  ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  อบรม  อบรมเชิงปฏิบัติการ  อบรมออนไลน์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2740  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 25/6/2564 16:04:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:48:31
รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง » โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ระยะที่ 5 ปี 2563
นโยบายและแนวทางในการกำกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมีของวช. การขยายและผลการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการสู่ความเข้มแข็งของการวิจัยของประเทศ รวมถึงองค์ประกอบการบริหารระบบการจัดการความปลอดภัย ระบบการจัดการสารเคมีต่างๆ
คำสำคัญ : ESPReL  ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1442  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งเรือง โพธิ์สิงห์ทอง  วันที่เขียน 24/6/2564 14:50:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 16:04:01
รุ่งทิพย์ กาวารี » #แนวทางยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ระหว่างวันที่ 7 – 8 สิงหาคม 2562 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริหารวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ได้อบรมเรื่องแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัย ซึ่งห้องปฏิบัติการต้องมีมาตรฐานการวิจัยต่างๆ ใช้เป็นกลไกในการกำกับ ตรวจสอบและรับรอง ดำเนินการรักษามาตรฐานในกระบวนการดำเนินงานวิจัย ได้แก่ 1. มาตรฐานจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัย ผลงานวิชาการและผลงานวิจัย 2. มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ 3. จริยธรรมนักวิจัย 4. มาตรฐานการวิจัยในมนุษย์ 5. มาตรฐานการดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ 6. มาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ 7. มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ## โปรดคลิกที่นี่เพื่อเข้าไปอ่านต่อ
คำสำคัญ : ESPReL  ความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ  ยกระดับมาตรฐาน  สารเคมี  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3961  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 18/8/2562 12:57:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:13:33
รุ่งทิพย์ กาวารี » #ข้อกำหนดและการตรวจติดตามภายในตามมาตรฐาน BRC Food issue 8
BRC (British Retail Consortium) Food Issue 8 คือ มาตรฐานความปลอดภัยอาหารสากลที่เกิดจากสมาคมผู้ค้าปลีกแห่งสหราชอาณาจักร ระบุข้อกำหนดด้านความปลอดภัยและคุณภาพที่ต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ขยายข้อกำหนดสำหรับการติดตามด้านสภาวะแวดล้อมเพื่อสะท้อนถึงความสำคัญที่เพิ่มขึ้น (สภาวะแวดล้อมในที่นี้หมายถึง อากาศในห้อง ผนัง พื้นห้อง สิ่งแวดล้อมภายนอก) ส่งเสริมสถานประกอบการให้มีการพัฒนาระบบเพื่อความมั่นคงและการป้องกันอาหาร เพิ่มความชัดเจนในข้อกำหนดสำหรับโซนความเสี่ยงด้านการผลิตที่มีความเสี่ยงสูง ดูแลสูง และความรอบคอบ ให้ความชัดเจนมากขึ้นสำหรับผลิตอาหารสำหรับสัตว์เลี้ยง และมั่นใจในการบังคับใช้และการเปรียบเทียบกับ Global Food Safety Initiative (GFSI) ได้แก่ BRC, FSSC, IFS, Thai Union standard ขอบเขตของมาตรฐาน BRC Food Safety กำหนดมาตรฐานสำหรับการผลิต การแปรรูป และการบรรจุอาหารแปรรูปทั้งเจ้าของสินค้า/ผู้ผลิตสินค้า และสินค้าของลูกค้า วัตถุดิบหรือส่วนผสมสำหรับใช้โดยบริษัทผู้ให้บริการด้านอาหาร บริษัทอาหาร และ/หรือผู้ผลิตอาหาร มาตรฐานสำหรับผลิตภัณฑ์หลัก เช่น ผลไม้และผัก มาตรฐานสำหรับอาหารสัตว์เลี้ยงสำหรับสัตว์เลี้ยง
คำสำคัญ : BRC Food issue 8  British Retail Consortium  มาตรฐานความปลอดภัยอาหาร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 91087  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 11/5/2562 14:38:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:52:09
สรุปรายงานจากการอบรม » แนวทางการจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
ตามนโยบายและแนวทางในการกำกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้กำหนดมาตรฐานการวิจัยไว้หลายด้าน โดยเฉพาะมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ มาตรการส่งเสริมให้เกิดการยกระดับความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการของ วช. จะใช้กลไกการจัดสรรทุนวิจัย คือ การกำหนดให้มีการลงทะเบียนห้องปฏิบัติการ และให้แนบเอกสารความปลอดภัยทุกครั้ง เพื่อประกอบการพิจารณาการขอทุนวิจัย ดังนั้นห้องปฏิบัติการจึงต้องมีการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เองและเพื่อขอทุนวิจัยในอนาคต โดย วช. ได้แนะนำเครื่องมือในการบริหารจัดการความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ฐานข้อมูลความรู้และเผยแพร่กิจกรรมด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ฐานความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ระบบจัดการข้อมูลสารเคมี และการบริการจัดการเกี่ยวกับมาตรการจัดสรรทุนวิจัยที่เกี่ยวกับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ
คำสำคัญ : มาตรฐานห้องปฏิบัติการ ความปลอดภัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4285  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 5/9/2561 12:22:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 17:37:36
รุ่งทิพย์ กาวารี » #ทำไมผู้ที่ทำงานในห้องปฏิบัติการต้องอบรมหลักสูตร "เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน"
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หมายถึง สภาพการทำงานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดอุบัติเหตุและความเจ็บป่วยหรือโรคจากการทำงาน (การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานอันมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่เป็นอันตราย ลักษณะท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน ต้องได้รับการอบรมหัวข้อต่างๆ แยกเป็น 4 หมวดวิชา ดังนี้ หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและการนำไปปฏิบัติ หมวดวิชาที่ 3 การค้นหาอันตรายจากการทำงาน หมวดวิชาที่ 4 การป้องกันและควบคุมอันตราย
คำสำคัญ : กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน  ความปลอดภัย  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน  บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 19964  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 26/12/2560 0:02:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:13:34
รุ่งทิพย์ กาวารี » #ทำไมผู้ที่ทำงานในห้องปฏิบัติการต้องอบรมหลักสูตร "เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน"
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หมายถึง สภาพการทำงานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดอุบัติเหตุและความเจ็บป่วยหรือโรคจากการทำงาน (การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานอันมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่เป็นอันตราย ลักษณะท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน ต้องได้รับการอบรมหัวข้อต่างๆ แยกเป็น 4 หมวดวิชา ดังนี้ หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและการนำไปปฏิบัติ หมวดวิชาที่ 3 การค้นหาอันตรายจากการทำงาน หมวดวิชาที่ 4 การป้องกันและควบคุมอันตราย
คำสำคัญ : กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน  ความปลอดภัย  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน  บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 19964  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 26/12/2560 0:02:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:13:34
รุ่งทิพย์ กาวารี » #ทำไมผู้ที่ทำงานในห้องปฏิบัติการต้องอบรมหลักสูตร "เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน"
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หมายถึง สภาพการทำงานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดอุบัติเหตุและความเจ็บป่วยหรือโรคจากการทำงาน (การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานอันมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมการทำงานที่เป็นอันตราย ลักษณะท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน ต้องได้รับการอบรมหัวข้อต่างๆ แยกเป็น 4 หมวดวิชา ดังนี้ หมวดวิชาที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานและการนำไปปฏิบัติ หมวดวิชาที่ 3 การค้นหาอันตรายจากการทำงาน หมวดวิชาที่ 4 การป้องกันและควบคุมอันตราย
คำสำคัญ : กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน  ความปลอดภัย  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน  บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 19964  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 26/12/2560 0:02:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:13:34
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » SSL Certificate for MJU
ระบบอินเทอร์เน็ตได้เข้ามาเป็นส่วนสําคัญของการติดต่อสื่อสารมากขึ้น และยังเป็นสื่อหลักในการทําธุรกรรมต่างๆ ซึ่งถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สร้างโอกาสในการดําเนินธุรกิจการค้า หรือธุรกิจออนไลน์ เพราะมีความสะดวกและรวดเร็วในการการติดต่อสื่อสาร แต่ช่องทางการใช้ระบบอินเทอร์เน็ตก็มีความเสี่ยงสูงเช่นกัน เนื่องจากกลุ่มแฮกเกอร์ พยายามค้นหาช่องโหว่ต่างๆ เพื่อดักจับข้อมูลต่างๆ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสูญเสียตามมาได้ ดังนั้น เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นผ่านระบบอินเทอร์เน็ต SSL Certificate จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการปกป้องข้อมูลของท่าน
คำสำคัญ : HTTP  HTTPS  SSL  SSL Certificate  ความปลอดภัยของเว็บไซต์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 5871  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน บรรพต โตสิตารัตน์  วันที่เขียน 5/4/2560 21:24:08  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 1:11:22
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานด้านการจัดการห้องปฏิบัติการ
การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานด้านการจัดการห้องปฏิบัติการ • การจัดทำระบบการจัดการความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ เพื่อเตรียมพร้อมรับอุบัติเหตุและภาวะฉุกเฉิน เพื่อรักษาและป้องกันชีวิตและทรัพย์สินอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในองค์กร เพื่อช่วยลดความเสียหายและความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินนำไปสู่การลด ต้นทุนค่าใช้จ่ายในเรื่องอุบัติเหตุและค่ารักษาพยาบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในด้านความปลอดภัยแก่บุคลากรในองค์กรส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้น
คำสำคัญ : การจัดการห้องปฏิบัติการ  การปฏิบัติงาน  พัฒนาทักษะ  มาตรฐานความปลอดภัย  ห้องปฏิบัติการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3868  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 8/3/2560 21:47:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:13:31
ประชุมและเสนอผลงานวิชาการ » ความปลอดภัยทางชีวภาพ และชีวนิรภัย (Biosafety and Biosecurity)
ปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญและรับรองในหลักการทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นหากต้องการให้งานวิจัยของหน่วยงานเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการของโลก ก็ต้องมีการปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ โดยอาศัยหลักการความปลอดภัยทางชีวภาพนี้เป็นแนวทาง
คำสำคัญ : ความปลอดภัยทางชีวภาพ  ชีวนิรภัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 8731  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน  วันที่เขียน 23/2/2559 20:01:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 5:50:28