รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : iOS
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะที่การรักษาความปลอดภัยเน้นการควบคุมการเข้าถึงและการใช้สิ่งมีชีวิตหรือสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูง หากมีความรู้และทักษะที่ได้จากการฝึกอบรมจะช่วยป้องกันอันตรายทางชีวภาพ และส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมให้มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 1. เพิ่มความรู้และทักษะที่จำเป็นในการจัดการกับสารชีวภาพอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ 2. ป้องกันอุบัติเหตุ ทำให้ลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุและการติดเชื้อจากการทำงานกับสารชีวภาพที่อาจเป็นอันตราย 3. เพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ 4. ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงมาตรฐานและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทำให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับข้อกำหนดทางกฎหมาย 5. เพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และ 7. ป้องกันการปนเปื้อน ทำให้ลดโอกาสของการปนเปื้อนที่อาจส่งผลต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการทดลอง
คำสำคัญ : การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 112  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 14/10/2567 14:36:58
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะที่การรักษาความปลอดภัยเน้นการควบคุมการเข้าถึงและการใช้สิ่งมีชีวิตหรือสารชีวภาพที่มีความเสี่ยงสูง หากมีความรู้และทักษะที่ได้จากการฝึกอบรมจะช่วยป้องกันอันตรายทางชีวภาพ และส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมให้มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 1. เพิ่มความรู้และทักษะที่จำเป็นในการจัดการกับสารชีวภาพอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ 2. ป้องกันอุบัติเหตุ ทำให้ลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุและการติดเชื้อจากการทำงานกับสารชีวภาพที่อาจเป็นอันตราย 3. เพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ 4. ได้เรียนรู้และเข้าใจถึงมาตรฐานและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทำให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับข้อกำหนดทางกฎหมาย 5. เพิ่มประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง และ 7. ป้องกันการปนเปื้อน ทำให้ลดโอกาสของการปนเปื้อนที่อาจส่งผลต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการทดลอง
คำสำคัญ : การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 112  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 14/10/2567 14:36:58
สรุปรายงานจากการอบรม » วิธีการเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อแสดงการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
การเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อศึกษาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเผยแพร่วิธีการเตรียมสไลด์ ให้ผู้ที่ปฏิบัติงานในหลักสูตรพันธุศาสตร์ ได้นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอนต่อไป การศึกษาตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตหรือส่วนต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต โดยผนึกลงบนสไลด์ แล้วนำมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ เป็นวิธีการที่ดีทําให้สามารถศึกษาส่วนประกอบที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ การทําสไลด์ถาวร จะช่วยให้ศึกษาถึงรายละเอียดของสิ่งมีชีวิตได้ มีความสะดวกในการใช้งาน ใช้ซ้ำได้หลายครั้ง ลดค่าใช้จ่ายในการเตรียมตัวอย่างพืช (ดอกข้าวโพด) และไม่เสียเวลาทําใหม่เหมือนกับสไลด์ชั่วคราว
คำสำคัญ : สไลด์ถาวร การแบ่งเซลล์ ไมโอซิส meiosis  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 218  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 26/9/2566 11:21:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 11/10/2567 9:01:47
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11
จากการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11 ระหว่างวันที่ 22- 23 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีเนื้อหาประกอบด้วยหลักสูตรการอบรมและการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างทักษะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้องค์ความรู้เพื่อสามารถนำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา/ผู้ปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติงานในหมวดวิชาที่รับผิดชอบ และปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการกลางของสาขาวิชาฯ เพื่อป้องกันอันตรายและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานวิจัยของตนเองอีกด้วย
คำสำคัญ : Biosafety  Biosecurity  การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ  ความปลอดภัยทางชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 218  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 9/9/2566 13:08:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/10/2567 15:25:15
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11
จากการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ รุ่นที่ 11 ระหว่างวันที่ 22- 23 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีเนื้อหาประกอบด้วยหลักสูตรการอบรมและการฝึกปฏิบัติเสริมสร้างทักษะด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้องค์ความรู้เพื่อสามารถนำไปถ่ายทอดแก่นักศึกษา/ผู้ปฏิบัติงาน ที่ปฏิบัติงานในหมวดวิชาที่รับผิดชอบ และปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการกลางของสาขาวิชาฯ เพื่อป้องกันอันตรายและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานวิจัยของตนเองอีกด้วย
คำสำคัญ : Biosafety  Biosecurity  การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ  ความปลอดภัยทางชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 218  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 9/9/2566 13:08:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/10/2567 15:25:15
รายงานสรุปเนื้อหาการประชุม อบรม สัมมนา » รายงานสรุปเนื้อหาการอบรมเชิงปฏิบัติการหัวข้อ "Transgenerational equity and sustainable technologies for agricultural waste to energy"
-
คำสำคัญ : auditing  industrial symbiosis  thermo-chemical conversion  waste management  วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2142  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทิพปภา พิสิษฐ์กุล  วันที่เขียน 15/10/2562 9:10:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 9/10/2567 22:39:07
ไบโอเซนเซอร์ » Dopamine, recent research from Biosensors group, Maejo University
Dopamine, chemically known as 3,4-dihydroxyphenyl ethylamine, is a chemical found naturally in the human body. A dopamine deficiency occurs due to a loss of dopamine amount that it caused by a problem with the receptors in the brain. The most common conditions linked to a lack of dopamine include depression, Schizophrenia, and Parkinson's disease. In Parkinson's disease, It is a loss of the nerve cells in a specific part of the brain resulting in a lack of dopamine in the same area. Thus, the quantitative determination of this neurotransmitter appears to be important for diagnosis, monitoring, and pharmacological intervention. Dopamine can be diagnosed using various advanced techniques such as High-Performance Liquid Chromatography (HPLC), chemical luminescence, Ultraviolet-visible spectroscopy (UV-Vis) and gas chromatography-mass spectrometry (GC). Although these strategies techniques are effective for the detection of dopamine, there are still some drawbacks, such as time-consuming, low sensitivity and expensive equipment. It is possible to detect dopamine using a modified electrode for diagnosing these diseases. Compared with these techniques, electrochemical determination of DA has acknowledged extensive attention since it allows for fast, simple, decisive and cost-effective way together with super-high sensitivity.
คำสำคัญ : Dopamine biosensors  Gold nanoparticles  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2514  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธานินทร์ แตงกวารัมย์  วันที่เขียน 23/9/2562 16:39:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 12/10/2567 14:10:18
แนะนำโปรแกรมใช้งาน » วิธีการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้งาน iOS และ Android Smartphone
ข้อแนะนำในการใช้งาน Smartphone อย่างปลอดภัย จะมีอยู่ด้วยกัน 3 เรื่อง คือ ข้อควรระวังในการใช้งาน ข้อปฏิบัติที่ควรทำ และข้อเสนอแนะ 1) ข้อควรระวังในการใช้งาน ได้แก่ข้อระมัดระวังในการใช้งานเครือข่ายไร้สายและบลูทูธ การติดตั้ง “แอ๊พ” จากแหล่งที่เชื่อถือได้เท่านั้น 2) ข้อปฏิบัติที่ควรทำ ได้แก่การใส่รหัสล๊อคหน้าจอ การกำหนดและรักษารหัสผ่าน การหลีกเลี่ยงการ Jailbreak ใน iOS และการ Root ใน Andriod รวมถึงการ Update OS/Software อย่างสม่ำเสมอ และควรปฏิบัติตามคำแนะนำและข้อปฏิบัติในการใช้บริการธุรกรรมออนไลน์ของธนาคาร 3) ข้อเสนอแนะ ในการใช้งานผ่าน Web Brower ควรใช้งานผ่าน https:// จะปลอดภัยกว่า และแนะให้มีการปิดระบบ Cookie ตลอดจน Autfill ตลอดจนการสำรองข้อมูลไว้เสมอ ผู้ใช้งาน Smartphone ควรมีการปฏิบัติในลักษณะป้องกันไว้ดีกว่าแก้ เนื่องจากเทคโนโลยีมือถือได้กลายเป็นส่วนของชีวิตของเราไปแล้ว
คำสำคัญ : iOS  Smartphone  การใช้งาน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3763  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 24/10/2556 11:20:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/10/2567 9:58:00