Blog : ไบโอเซนเซอร์
รหัสอ้างอิง : 147
ชื่อสมาชิก : ธานินทร์ แตงกวารัมย์
เพศ : ชาย
อีเมล์ : tanin@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 21/1/2554 10:15:47
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 21/1/2554 10:15:47

รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : ไบโอเซนเซอร์
ไบโอเซนเซอร์เป็นอุปกรณ์การตรวจวัดทางชีวภาพโดยการใช้สารชีวภาพเปลี่ยนปริมาณสารที่ต้องการตรวจวัด (Converts) ให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า (Electrical signal) ที่สามารถตรวจวัดได้ การพัฒนาไบโอเซนเซอร์และเซนเซอร์ด้านต่าง ๆ ในรอบ 30 ปี มีจำนวนมากขึ้นทั้งในด้านเงินทุน จำนวนผลงานตีพิมพ์ และจำนวนนักวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งในการเพิ่มขึ้นดังกล่าวนี้เป็นผลเนื่องมาจากการพัฒนาของอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำซึ่งส่งผลให้มีพัฒนาการเป็นเครื่องมือและอุปกรณ์ชนิดใหม่เกิดขึ้นมากมายและเป็นแรงขับเคลื่อนเกิดเซนเซอร์ชนิดต่าง ๆ เช่นไฮโดรคาร์บอนเซนเซอร์ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ กลูโคสเซนเซอร์ใช้ในอุตสาหกรรมการแพทย์ ในปี 1980s ซึ่งมีการพัฒนาด้านไมโครคอมพิวเตอร์ได้ส่งผลให้เกิดวิวัฒนาการของเครื่องมือและเซนเซอร์ทำให้มีการผลิตไบโอเซนเซอร์ที่มีดีขึ้นส่งผลให้ดัชนีของประสิทธิภาพต่อราคาสูงมาขึ้น (Performance-price index) การใช้งานไบโอเซนเซอร์มีมากมายในหลาย ๆ ด้าน โดยมีอัตราการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นถึง 60% ต่อปี เช่น การแพทย์ อุตสาหกรรม การทหาร และสิ่งแวดล้อม
ไบโอเซนเซอร์ » Dopamine, recent research from Biosensors group, Maejo University
Dopamine, chemically known as 3,4-dihydroxyphenyl ethylamine, is a chemical found naturally in the human body. A dopamine deficiency occurs due to a loss of dopamine amount that it caused by a problem with the receptors in the brain. The most common conditions linked to a lack of dopamine include depression, Schizophrenia, and Parkinson's disease. In Parkinson's disease, It is a loss of the nerve cells in a specific part of the brain resulting in a lack of dopamine in the same area. Thus, the quantitative determination of this neurotransmitter appears to be important for diagnosis, monitoring, and pharmacological intervention. Dopamine can be diagnosed using various advanced techniques such as High-Performance Liquid Chromatography (HPLC), chemical luminescence, Ultraviolet-visible spectroscopy (UV-Vis) and gas chromatography-mass spectrometry (GC). Although these strategies techniques are effective for the detection of dopamine, there are still some drawbacks, such as time-consuming, low sensitivity and expensive equipment. It is possible to detect dopamine using a modified electrode for diagnosing these diseases. Compared with these techniques, electrochemical determination of DA has acknowledged extensive attention since it allows for fast, simple, decisive and cost-effective way together with super-high sensitivity.
คำสำคัญ : Dopamine biosensors  Gold nanoparticles  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2494  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธานินทร์ แตงกวารัมย์  วันที่เขียน 23/9/2562 16:39:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 9/9/2567 16:16:16
ไบโอเซนเซอร์ » ทำไมไบโอเซนเซอร์เป็นงานวิจัยที่น่าสนใจในปัจจุบัน
จากบทความตอนที่แล้วที่ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของไบโอเซนเซอร์ไปแล้ว ในปัจจุบันไบโอเซนเซอร์มีความก้าวหน้ามากขึ้นเนื่องจากความสะดวกสบายในการใช้งาน ราคาที่จับต้องได้ และยังปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้งานวิจัยด้านนี้น่าสนใจ เราไปตามต่อเลยครับ
คำสำคัญ : ตลาดของไบโอเซนเซอร์  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3879  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธานินทร์ แตงกวารัมย์  วันที่เขียน 4/9/2561 5:17:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 9/9/2567 10:36:26
ไบโอเซนเซอร์ » ไบโอเซนเซอร์
ไบโอเซนเซอร์เป็นอุปกรณ์การตรวจวัดทางชีวภาพโดยการใช้สารชีวภาพเปลี่ยนปริมาณสารที่ต้องการตรวจวัด (Converts) ให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า (Electrical signal) ที่สามารถตรวจวัดได้ การพัฒนาไบโอเซนเซอร์และเซนเซอร์ด้านต่าง ๆ ในรอบ 30 ปี มีจำนวนมากขึ้นทั้งในด้านเงินทุน จำนวนผลงานตีพิมพ์ และจำนวนนักวิจัยที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งในการเพิ่มขึ้นดังกล่าวนี้เป็นผลเนื่องมาจากการพัฒนาของอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำซึ่งส่งผลให้มีพัฒนาการเป็นเครื่องมือและอุปกรณ์ชนิดใหม่เกิดขึ้นมากมายและเป็นแรงขับเคลื่อนเกิดเซนเซอร์ชนิดต่าง ๆ เช่นไฮโดรคาร์บอนเซนเซอร์ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ กลูโคสเซนเซอร์ใช้ในอุตสาหกรรมการแพทย์ ในปี 1980s ซึ่งมีการพัฒนาด้านไมโครคอมพิวเตอร์ได้ส่งผลให้เกิดวิวัฒนาการของเครื่องมือและเซนเซอร์ทำให้มีการผลิตไบโอเซนเซอร์ที่มีดีขึ้นส่งผลให้ดัชนีของประสิทธิภาพต่อราคาสูงมาขึ้น (Performance-price index) การใช้งานไบโอเซนเซอร์มีมากมายในหลาย ๆ ด้าน โดยมีอัตราการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นถึง 60% ต่อปี เช่น การแพทย์ อุตสาหกรรม การทหาร และสิ่งแวดล้อม
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 20061  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธานินทร์ แตงกวารัมย์  วันที่เขียน 18/3/2560 21:55:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/9/2567 23:54:49

URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้