รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : พันธุศาสตร์
ความรู้จากการเข้าอบรม ประชุมวิชาการ » สรุปประโยชน์ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21 “พันธุศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: Genetics for Sustainable Development”
การเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21 นี้ มีการนำเสนอความรู้ครอบคุลมวิชาการด้านพันธุศาสตร์ทุกแขนง ได้แก่ นิติวิทยาศาสตร์ พันธุศาสตร์จุลินทรีย์ พันธุศาสตร์ของเซลล์ พันธุศาสตร์มนุษย์และเวชพันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์เกษตรและการประยุกต์ และความรู้ด้านโอมิกส์ โดยได้ฟังการนำเสนอทั้งจากภาคบรรยายและโปสเตอร์
คำสำคัญ : พันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3986  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ยุพเยาว์ คบพิมาย  วันที่เขียน 1/8/2562 13:10:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 15:46:52
สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21 » สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21
ข้าพเจ้า นางทุเรียน ทาเจริญ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัด สาขาพันธุศาสตร์ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 21เรื่อง“พันธุศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ตามหนังสืออนุญาตเลขที่.....ศธ ๐๕๒๓.๔.๙.๑/๑๔๐... ลงวันที่ ๒๑ ก.พ.๒๕๖๒ ดังนั้นจึงขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการประชุมวิชาการ
คำสำคัญ : พันธุศาสตร์ครั้งที่ 21  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2264  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทุเรียน ทาเจริญ  วันที่เขียน 18/7/2562 14:27:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 6:11:54
ความรู้จากการเข้าอบรม ประชุมวิชาการ » สรุปประโยชน์ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 20
ปัจจุบันความเทคโนโลยีและความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์ได้พัฒนาไปมาก ดังนั้นจึงมีการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์ทั้งในด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช สัตว์ รวมถึงการตรวจวินิจฉัยในคน
คำสำคัญ : array CGH  การปรับปรุงพันธุ์สัตว์  ฐานข้อมูล  พันธุศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4467  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ยุพเยาว์ คบพิมาย  วันที่เขียน 5/9/2560 10:20:43  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 15:43:36
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ จากระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์
การเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 19 “พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์: จากการศึกษาระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์” เมื่อวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรมเซ็นทารา แอนด์ คอนเวนชั่นเซนเตอร์ จังหวัดขอนแก่น ในงานประชุมได้มีการบรรยายพิเศษ และบรรยายรับเชิญโดยผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์ สาขามนุษยพันธุศาสตร์ และสาขาพันธุศาสตร์ของพืช สัตว์ จุลินทรีย์ และอื่น ๆ นอกจากนี้มีการนำเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบบรรยายและโปสเตอร์ หัวข้อการบรรยายพิเศษและการบรรยายรับเชิญ ได้แก่ พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์กับการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์สู่พัฒนาการด้านการประมง เทคโนโลยีจีโนมิกส์เพื่อการศึกษาพันธุศาสตร์ในพืช การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์กับการศึกษานิเวศวิทยา เป็นต้น และมีการอภิปราย เรื่อง พืชเทคโนชีวภาพ: ความจริงวันนี้ ในการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าของงานวิจัยด้านพันธุศาสตร์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการนำมาพัฒนาการเรียนการสอน และการทำงานวิจัยต่อไป
คำสำคัญ : การปรับปรุงพันธุ์  จีโนมิกส์  พันธุศาสตร์  พืชเทคโนชีวภาพ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 8663  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์  วันที่เขียน 7/9/2558 4:55:48  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 18:43:25
ความรู้จากการเข้าอบรม ประชุมวิชาการ » สรุปความรู้ที่ได้จากการประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 19 “พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์: จากการศึกษาระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์”
พันธุศาสตร์ได้เข้ามามีบทบาทในเชิงวิชาการที่หลากหลาย ยกตัวอย่างเช่น ด้านการแพทย์ การเกษตร นิเวศวิทยา การอนุรักษ์และศึกษาความหลากหลายชีวภาพ รวมถึงด้านการเรียนการสอน
คำสำคัญ : พันธุศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 8836  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ยุพเยาว์ คบพิมาย  วันที่เขียน 4/9/2558 13:08:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 22:12:06
รายงานการอบรม ประชุมวิชาการ » รายงานสรุปการเข้าร่วมประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 19 (ก.ค. 2558)
ข้าพเจ้านางสาวนฤมล เข็มกลัดเงินได้เข้าร่วมงานประชุมวิชาการพันธุศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 19 เมื่อวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2558 ขอรายงานการประชุมวิชาการโดยขอสรุปเรื่องที่สนใจหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของข้าพเจ้าในหัวข้อ การศึกษายีน regulator กลุ่ม WD40 ในปทุมมา (Curcuma alismatifolia Gagnep.) ในงานวิจัยนี้ได้แยกยีน WD40 จากปทุมมา แล้วจึงศึกษาระดับการแสดงออกของยีนนี้ใน ดอก กลีบประดับ และใบของปทุมมา พบว่ายีนนี้แสดงออกมากในกลีบประดับทุกระยะ ซึ่งสอดคล้องกับการสะสมของเม็ดสีแอนโทไซยานิน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่ายีนนี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการควบคุมการสังเคราะห์แอนโทไซยานินในกลีบประดับของปทุมมา
คำสำคัญ : ปทุมมา แอนโทไซยานิน WD40 การประชุมพันธุศาสตร์แห่งชาติครั้งที่ 19  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3690  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นฤมล เข็มกลัดเงิน  วันที่เขียน 4/9/2558 11:51:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 19:27:46
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์: จากการศึกษาระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์
การศึกษาสารพันธุกรรม (จีโนม) หรือ การแสดงออกของยีนทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ได้ มีความสำคัญและมีประโยชน์อย่างมากมาย สามารถนำไปพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างประโยชน์แก่การพัฒนาสังคมและประเทศทั้งทางด้าน เกษตร ประมง ปศุสัตว์ อุตสาหกรรม อาหาร และการแพทย์ ต่อไปในอนาคต
คำสำคัญ : พันธุศาสตร์ จีโนม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4754  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 1/9/2558 10:24:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 22:58:07
การศึกษาพันธุศาสตร์และจีโนมจากระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์ » การศึกษาพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์จากระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์
จีโนมมีหน้าที่เป็นแหล่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมสมบูรณ์แบบ โดยถ้าศึกษาอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจกระบวนการต่างๆ ทางพันธุศาสตร์ได้ดีขึ้นเช่น การแสดงออกของยีนโดยการหา เครื่องหมายระดับโมเลกุลชนิดต่าง ๆที่ช่วยในการคัดเลือกลักษณะที่ต้องการซึ่งจะช่วยในงานด้านการปรับปรุงพันธุ์และข้อมูลที่อยู่ในจีโนมจะทำให้เข้าใจการพัฒนาของพืช นอกจากนี้จีโนมจะเป็นพื้นฐานที่สร้างความเข้าใจจีโนมของยูแคริโอต รูปแบบการจัดเรียงลำดับของเบสในจีโนม ดัชนีบ่งชี้ศักยภาพทางพันธุกรรมของจีโนม การแสดงออกและการควบคุมการทำงานของยีน และข้อมูลเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่การศึกษาจีโนมพืชในระดับโมเลกุลต่อไป
คำสำคัญ : จีโนม พันธุศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2855  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทุเรียน ทาเจริญ  วันที่เขียน 1/9/2558 8:38:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 4:54:42
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่ (Next generation sequencing for genetics and genomics studies)
การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่ (Next generation sequencing for genetics and genomics studies)เป็นเทคนิคใหม่ที่แสดงถึงการพัฒนาขององค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำไปสู่การพัฒนาวิธีการใหม่ๆในการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัยและพัฒนาศักยภาพในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งองค๋ความรู้ต่างเหล่านี้จะมีประโยชน์อย่างมากต่อ มนุษย์ สังคมและสิ่งแวดล้อม
คำสำคัญ : Next generation sequencing for genetics and genomics studies  จีโนมิกส์  พันธุศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 7280  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 1/9/2557 9:13:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 20:50:10