Blog : เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ
รหัสอ้างอิง : 1416
ชื่อสมาชิก : สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม
เพศ : หญิง
อีเมล์ : suparat_l@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 14/10/2556 13:13:06
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 14/10/2556 13:13:06

รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ
การรวบรวมองค์ความรู้สำคัญๆจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการโดยเฉพาะงานประชุมที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางด้านพันธุศาสตร์
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » เทคนิคการตรวจสอบและคัดเลือกวารสารเพื่อการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ
คำสำคัญ : การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ, การตีพิมพ์บทความวิชาการ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1262  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 4/10/2564 15:41:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 14:01:36
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » การนำโปรแกรม Kahoot มาใช้เพื่อการตอบสนองต่อการเรียนการสอน
คำสำคัญ : kahoot  โปรแกรมส่งเสริมการเรียนการสอน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3607  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 4/10/2562 15:26:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 16:20:14
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » CRISPR/CAS9 TARGET GENOME EDITING
เทคนิค CRISPR-CAS9 เป็นเทคนิคใหม่ที่ได้มีการพัฒนาจากความรู้พื้นฐานทางด้านพันธุศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาและงานวิจัยทางด้านพันธุวิศวกรรม ในการปรับปรุงและแก้ไขสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่มีความผิดปกติหรือต้องการการแก้ไข โดยปัจจุบันได้มีการนำเทคนิคนี้มาใช้เพื่อการศึกษาและวิจัยกันอย่างแพร่หลาย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขสารพันธุกรรมที่เกิดการกลายพันธุ์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะความผิดปกติหรือโรคทางพันธุกรรมที่พบในมนุษย์
คำสำคัญ : CRISPR, Cas9, Genome editing  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 14890  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 9/3/2560 14:24:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 28/4/2567 5:22:17
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ “ฝ่ายวิชาการ สกว. สัญจร” ครั้งที่ 2
การประชุมวิชาการ “ฝ่ายวิชาการ สกว. สัญจร” ครั้งที่ 2 เป็นการจัดการประชุมโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ผู้ให้ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ และทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่เป็นทุนที่ฝ่ายวิชาการ ซึ่งได้จัดสรรให้แก่อาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมขั้นพื้นฐานให้แก่อาจารย์และนักวิจัยรุ่นใหม่ ได้มีการเชิญวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับเทคนิคในการเขียนข้อเสนอโครงการ การบริหารจัดการทุนอย่างมืออาชีพ การทำงานวิจัยอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ และดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในการเขียนข้อเสนอโครงการ และบทความวิชาการ เพื่อเสนอแนะและปรับแก้ให้มีความถูกต้อง น่าสนใจ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3488  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 8/9/2559 12:31:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 2:25:46
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ประจำปี 2558
การประชุมวิชาการ ประจำปี 2558 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นงานประชุมเพื่อเปิดโอกาสให้อาจารย์ นักวิจัย นักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจ เข้าร่วมนำเสนอผลงานทั้งภาคบรรยายและโปสเตอร์ ผู้เข้าร่วมประชุมจะได้เข้ารับฟังบรรยายในหัวข้อวิจัยต่าง ๆ ทางด้านเกษตร ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ที่ทันสมัยเปิดวิสัยทัศน์ให้กว้างมากขึ้น สามารถนำเอาองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้ต่อยอดและปรับปรุงงานวิจัยของตนเองได้ในอนาคต ามารถสร้างเครือข่ายงานวิจัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่นักวิจัยและงานวิจัยทางด้านต่าง ๆ ของประเทศไทยให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป
คำสำคัญ : นำเสนอผลงาน  ประชุมวิชาการ  แม่โจ้  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2964  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 14/3/2559 11:22:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 12:16:21
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » พันธุศาสตร์และจีโนมิกส์: จากการศึกษาระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์
การศึกษาสารพันธุกรรม (จีโนม) หรือ การแสดงออกของยีนทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ได้ มีความสำคัญและมีประโยชน์อย่างมากมาย สามารถนำไปพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างประโยชน์แก่การพัฒนาสังคมและประเทศทั้งทางด้าน เกษตร ประมง ปศุสัตว์ อุตสาหกรรม อาหาร และการแพทย์ ต่อไปในอนาคต
คำสำคัญ : พันธุศาสตร์ จีโนม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4568  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 1/9/2558 10:24:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 28/4/2567 0:48:32
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » การศึกษาชุดโครโมโซมในเซลล์พืช ด้วยเครื่อง Flow Cytometry (Plant DNA Ploidy Analysis with Flow Cytometry)
เครื่อง Flow Cytometry เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่มีความสามารถในการวิเคราะห์คุณสมบัติหลายๆ ประการของเซลล์ สามารถนำเอาเทคนิคดังกล่าวไปประยุกต์ใช้กับงานวิจัยที่ศึกษาในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ทั้ง สัตว์ พืช และจุลชีพ
คำสำคัญ : Flow cytometry, เซลล์, Ploidy, โครโมโซม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4949  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 10/3/2558 16:03:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/4/2567 18:11:03
เกร็คความรู้จากการประชุมวิชาการ » การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่ (Next generation sequencing for genetics and genomics studies)
การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่ (Next generation sequencing for genetics and genomics studies)เป็นเทคนิคใหม่ที่แสดงถึงการพัฒนาขององค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำไปสู่การพัฒนาวิธีการใหม่ๆในการศึกษาทางด้านพันธุศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัยและพัฒนาศักยภาพในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งองค๋ความรู้ต่างเหล่านี้จะมีประโยชน์อย่างมากต่อ มนุษย์ สังคมและสิ่งแวดล้อม
คำสำคัญ : Next generation sequencing for genetics and genomics studies  จีโนมิกส์  พันธุศาสตร์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 7204  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภารัตน์ ลีธนัชอุดม  วันที่เขียน 1/9/2557 9:13:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 2:31:03

URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้