การศึกษาพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์จากระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์
วันที่เขียน 1/9/2558 8:38:00     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 13:43:04
เปิดอ่าน: 2826 ครั้ง

จีโนมมีหน้าที่เป็นแหล่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมสมบูรณ์แบบ โดยถ้าศึกษาอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจกระบวนการต่างๆ ทางพันธุศาสตร์ได้ดีขึ้นเช่น การแสดงออกของยีนโดยการหา เครื่องหมายระดับโมเลกุลชนิดต่าง ๆที่ช่วยในการคัดเลือกลักษณะที่ต้องการซึ่งจะช่วยในงานด้านการปรับปรุงพันธุ์และข้อมูลที่อยู่ในจีโนมจะทำให้เข้าใจการพัฒนาของพืช นอกจากนี้จีโนมจะเป็นพื้นฐานที่สร้างความเข้าใจจีโนมของยูแคริโอต รูปแบบการจัดเรียงลำดับของเบสในจีโนม ดัชนีบ่งชี้ศักยภาพทางพันธุกรรมของจีโนม การแสดงออกและการควบคุมการทำงานของยีน และข้อมูลเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่การศึกษาจีโนมพืชในระดับโมเลกุลต่อไป

จีโนมมีหน้าที่เป็นแหล่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมสมบูรณ์แบบ โดยถ้าศึกษาอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจกระบวนการต่างๆ ทางพันธุศาสตร์ได้ดีขึ้นเช่น  การแสดงออกของยีนโดยการหา เครื่องหมายระดับโมเลกุลชนิดต่าง ๆที่ช่วยในการคัดเลือกลักษณะที่ต้องการซึ่งจะช่วยในงานด้านการปรับปรุงพันธุ์และข้อมูลที่อยู่ในจีโนมจะทำให้เข้าใจการพัฒนาของพืช นอกจากนี้จีโนมจะเป็นพื้นฐานที่สร้างความเข้าใจจีโนมของยูแคริโอต รูปแบบการจัดเรียงลำดับของเบสในจีโนม ดัชนีบ่งชี้ศักยภาพทางพันธุกรรมของจีโนม การแสดงออกและการควบคุมการทำงานของยีน และข้อมูลเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่การศึกษาจีโนมพืชในระดับโมเลกุลต่อไป

ตัวอย่างประโยชน์ของการศึกษาพันธุศาสตร์ในด้านต่าง ๆ จากการศึกษาระดับโมเลกุลสู่การประยุกต์ ดังนี้คือ ด้านการเกษตร ด้านการแพทย์ ด้านนิเวศวิทยา และด้านความหลากหลายทาง พันธุกรรม เช่น 1. ด้านพันธุศาสตร์กับการเกษตร เช่น การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียวให้มีรสชาติหวาน ซัง และไหม ทำให้มีสารแอนโทไซยานินสูง ที่สามารถใช้เป็นแหล่งของสารแอนโทไซยานินที่มีราคาถูกในระดับอุตสาหกรรม เป็นต้น

2. ด้านพันธุศาสตร์กับการแพทย์ เช่น วิธี Noninvasive prenatal testing (NIPT) เพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในทารกก่อนคลอดรูปแบบใหม่ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีอายุเกิน 35 ปี เมื่อนับถึงวันครบกำหนดคลอด แทนแบบเดิมที่ต้องใช้เข็มเจาะน้ำคร่ำ โดยใช้วิธีเจาะเลือดของแม่ วิธีนี้ให้ความเชื่อมั่นร้อยละ 98-99       นอกจากนี้ยังพบว่าสตรีตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีผลการตรวจกรองกลุ่มอาการดาวน์โดยโครโมโซมผิดปกติชนิดที่เรียกว่า Aneuploidy

3. ด้านพันธุศาสตร์กับนิเวศวิทยา เช่น การใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ด คือ การใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ในการระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต เพื่อใช้ในการศึกษานิเวศวิทยาของแมลง ซึ่งนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาโครงสร้างทางสังคมของสิ่งมีชีวิต กระจายตัวของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ต่อไปได้

4. ด้านพันธุศาสตร์กับความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น การศึกษายีนที่อยู่ในสิ่งมีชีวิตจะช่วยให้จำแนกชนิดของสิ่งมีชีวิตได้เพราะยีนของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะแตกต่างกันและไม่ผันแปรไปตามภาพแวดล้อมความใกล้ชิดทางพันธุกรรมระหว่างชนิดของสิ่งมีชีวิต และระหว่างพันธุ์ภายในชนิดเดียวกัน เช่น นกปรอทหัวโขน และ กล้วยไม้ในประเทศไทย เป็นต้น 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=397
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง