รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : Active learning
ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา » Active Learning เพื่อส่งเสริมสมรรถนะอาจารย์ตามกรอบมาตรฐาน Thailand PSF
Thailand PSF (Professional Standard Framework) กรอบมาตรฐานวิชาชีพอาจารย์ตามแนวทางพัฒนาคุณภาพอาจารย์เพื่อส่งเสริมการบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2566
คำสำคัญ : active learning  Mindset  คุณภาพอาจารย์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 130  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุภาพรรณ อนุตรกุล  วันที่เขียน 5/9/2567 16:39:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/10/2567 13:54:06
สรุปรายงานการอบรม » การอบรมแบบออนไลน์ เรื่อง Active learning: Engaging students in online classes
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ทำให้รูปแบบการเรียนรู้จากห้องเรียนปรับเปลี่ยนสู่รูปแบบการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทำให้ผู้สอนหลายท่านพบประสบปัญหาในการสอนแบบออนไลน์ ที่ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการสอน ทำให้การสอนเป็นลักษณะการบรรยาย ไม่เกิดการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ่งการสอนแบบออนไลน์นั้น ผู้สอนจำเป็นต้องมีทักษะ 3 อย่างด้วยกัน คือ 1. ทักษะการใช้เครื่องมือดิจิทัลในการสอน (Digital skills) 2. ทักษะการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ให้เหมาะสมกับผู้เรียน เทคนิคการสอน การสร้างความผูกพันในการเรียนให้กับผู้เรียนในรูปแบบออนไลน์ (Teaching and learning skills) 3. ทักษะการสื่อสาร โต้ตอบและการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ (Personal skills) เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและสนุกในกระบวนการเรียนรู้ และที่สำคัญระหว่างการสอนผู้สอนต้องตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ หรือให้พื้นที่แก่ผู้เรียนเป็นระยะๆ โดยใช้แบบสอบถามใจ เพื่อตรวจสอบสถานะความพร้อมของผู้เรียนเสมอ ว่ามีปัญหา หรือต้องการระบายความรู้สึก เพื่อที่ผู้สอนจะได้ช่วยแก้ไข แนะนำผู้เรียนทันเวลาตามสถานการณ์ได้ เนื่องจากการเรียนแบบออนไลน์ผู้เรียนอยู่หน้าจอตลอดเวลา ไม่ได้สื่อสารหรือมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นน้อย ขาดช่วงเวลาในการพัฒนาการด้านสังคมตามช่วงวัย ทำให้เกิดความเครียดสะสม และนำไปสู่สภาวะซึมเศร้าได้ จะเห็นว่าการสอนแบบออนไลน์ผู้สอนต้องใช้หลายทักษะในการสร้างห้องเรียนให้น่าเรียนน่าสนใจ อีกทั้งสิ่งสำคัญยังต้องรักษาใจของผู้เรียนให้พร้อมต่อการเรียนเสมอ ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่สำคัญของผู้สอนที่จะให้แก่ผู้เรียน เพื่อช่วยผู้เรียนให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ได้สำเร็จ
คำสำคัญ : 4P  Active learning  Digital skills  Look-Smile-Talk  Personal skills  Teaching skills  แบบสอบถามใจ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2269  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ชมัยพร นิธิกาจณ์พานิช  วันที่เขียน 15/11/2564 16:19:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/10/2567 2:31:10
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ Active Leaning Workshop
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ Active Leaning Workshop ระหว่างวันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องข้าวหอมมะลิ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ : Active Learning  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2067  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 5/2/2563 18:10:06  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/10/2567 23:21:43
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมสัมมนาหัวข้อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดการเรียนการสอน จากที่ผู้สอนบรรยาย (Lecture) อยู่หน้าชั้นเรียน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ซึ่งอาจจะทำในรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งทำให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน รวมทั้งผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ่งจะทำให้การเรียนรู้นั้นเป็นการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ทำให้นักศึกษาเข้าใจ และจดจำสิ่งที่เรียนรู้ได้ยาวนาน ทำให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างดี
คำสำคัญ : Active Learning  การจัดการเรียนการสอน  วิธีประเมินผล  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2516  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 3/12/2562 22:23:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/10/2567 10:44:12
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » Active Learning Workshop ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Active Learning ช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน อีกทั้งสร้างบทสนทนาระหว่างกันและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ่งจะทำให้การเรียนรู้นั้นเป็นการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ต่อเนื่องและยาวนาน ส่งเสริมการ พัฒนาศักยภาพผู้สอนให้ตอบสนองกับโลกยุคใหม่และผู้เรียน Generation ใหม่ได้เป็นอย่างดี
คำสำคัญ : Active Learning, Formative Assessment, Summative Assessment  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3775  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 26/11/2562 15:27:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2567 22:08:41
เข้าร่วมโครงการ » โครงการการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learner ที่มีคุณลักษณะ Soft Skill
โครงการการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learner ที่มีคุณลักษณะ Soft Skill จัดขึ้นวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
คำสำคัญ : Active Learning  Google Classroom  Soft Skills  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3382  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จีรวรรณ พัชรประกิติ  วันที่เขียน 19/4/2562 14:37:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/10/2567 15:44:32