รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : สวน
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม » สวนโบโบลี (Boboli Gardens) แห่งเมืองฟลอเรนซ์
บทความนี้ถูกแปลจากบางส่วนของหนังสือที่ชื่อ "Italian Villas and Their Gardens" เขียนโดย Edith Wharton เมื่อปี ค.ศ. 1905 ซึ่งเผยแพร่สู่สาธารณะ บทเว็บไซท์ The Project Gutenberg eBook ซึ่งอนญาตให้คัดลอก เผยแพร่ และดัดแปลงผลงานที่เผยแพร่นี้โดยไม่มีเงื่อนไข
คำสำคัญ : garden  italian  italian garden  italy  landscape  จรัสพิมพ์  บุญญานันต์  สวน  สวนอิตาลี  อิตาลี  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2653  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 17/9/2563 13:44:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:36:30
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม » สวนโบโบลี (Boboli Gardens) แห่งเมืองฟลอเรนซ์
บทความนี้ถูกแปลจากบางส่วนของหนังสือที่ชื่อ "Italian Villas and Their Gardens" เขียนโดย Edith Wharton เมื่อปี ค.ศ. 1905 ซึ่งเผยแพร่สู่สาธารณะ บทเว็บไซท์ The Project Gutenberg eBook ซึ่งอนญาตให้คัดลอก เผยแพร่ และดัดแปลงผลงานที่เผยแพร่นี้โดยไม่มีเงื่อนไข
คำสำคัญ : garden  italian  italian garden  italy  landscape  จรัสพิมพ์  บุญญานันต์  สวน  สวนอิตาลี  อิตาลี  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2653  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 17/9/2563 13:44:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:36:30
ถ่านชีวภาพ » การผลิตถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์
ถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ (Biochar) คือวัสดุที่อุดมด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ฟางข้าว เหง้ามันสําปะหลัง ซังและต้นข้าวโพด มูลสัตว์ กากตะกอนของเสีย เป็นต้น แม้กระทั่งมูลสัตว์นำมาผ่านกระบวนการเผาไหม้ที่มีการควบคุม อุณหภูมิและอากาศหรือจำกัดอากาศให้เข้าไปเผาไหม้น้อยที่สุดซึ่งกระบวนการเผาไหม้นี้ เรียกว่า “การแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิส” ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยมาก มีงานวิจัยที่ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมีหลายด้าน เช่น การปรับปรุงดิน และช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการปลูกได้อีกด้วย แล้วแต่ชนิดของพืชที่ปลูก มีงานวิจัยที่นำถ่านชีวภาพไปใช้กับพืชทางการเกษตร ใช้เป็นวัสดุปลูกร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตร การลดการดูดซับสารเคมีที่ใช้กำจัดวัชพืชและศัตรูพืช และโลหะหนักที่อยู่ในดินและน้ำ ของพืชที่ปลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีกลุ่มนี้ไว้ ทำให้ลดผลกระทบต่อพืชที่ปลูกจากสารเคมีและโลหะหนักที่ปนเปื้อน ใช้ดูดซับน้ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นตัวเร่ง ในปฏิกริยาในกระบวนการผลิตไบโอดีเซละและไบโอแก๊ส ใช้เป็นวัสดุเพื่อผลิตชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์ ผลิตกราฟีน เป็นต้น
คำสำคัญ : biochar  kiln  กราฟีน  ความร้อน  ดูดซับ  ตัวเร่ง  เตา  เตาไบโอชาร์  ถ่าน  ถ่านชีวภาพ  บำบัดน้ำเสีย  ไบโอชาร์  ปนเปื้อน  ปรับปรุงดิน  ปุ๋ยหมัก  ผักสวนครัว  ไม้ผล  โลหะหนัก  สมุนไพร  สารเคมีปนเปื้อน  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 66689  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย  วันที่เขียน 26/10/2562 20:32:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:42:09
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม » มนต์เสน่ห์แห่งสวนอิตาลี่
บทความนี้ถูกแปลจากบางส่วนของหนังสือที่ชื่อ "Italian Villas and Their Gardens" เขียนโดย Edith Wharton เมื่อปี ค.ศ. 1905 ซึ่งเผยแพร่สู่สาธารณะ บทเว็บไซท์ The Project Gutenberg eBook ซึ่งอนญาตให้คัดลอก เผยแพร่ และดัดแปลงผลงานที่เผยแพร่นี้โดยไม่มีเงื่อนไข
คำสำคัญ : garden  italian  italian garden  italy  landscape  จรัสพิมพ์  บุญญานันต์  สวน  สวนอิตาลี  อิตาลี  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4379  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 22/9/2562 16:16:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:12:35
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม » มนต์เสน่ห์แห่งสวนอิตาลี่
บทความนี้ถูกแปลจากบางส่วนของหนังสือที่ชื่อ "Italian Villas and Their Gardens" เขียนโดย Edith Wharton เมื่อปี ค.ศ. 1905 ซึ่งเผยแพร่สู่สาธารณะ บทเว็บไซท์ The Project Gutenberg eBook ซึ่งอนญาตให้คัดลอก เผยแพร่ และดัดแปลงผลงานที่เผยแพร่นี้โดยไม่มีเงื่อนไข
คำสำคัญ : garden  italian  italian garden  italy  landscape  จรัสพิมพ์  บุญญานันต์  สวน  สวนอิตาลี  อิตาลี  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : สถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม ผังเมือง
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4379  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จรัสพิมพ์ บุญญานันต์  วันที่เขียน 22/9/2562 16:16:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:12:35
เผยแพร่การใช้ประโยชน์ » เผยแพร่การนำไปใช้ประโยชน์
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าประชุมวิชาการ พืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 16 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ข้าพเจ้า นายอดิศักดิ์ จูมวงษ์ ตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหา และการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ณ ห้องประชุมเอกาทศรถ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ข้าพเจ้าขอรายงานดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาคุณภาพของบุคลากร 1.1 ได้รับฟังการบรรยายพิเศษ เรื่อง อุตสาหกรรมเกษตรไทย 4.0 โดย ผศ.ดร. ยุทธนา พิมลศิริผล ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ การอภิปรายเรื่อง ไทยแลนด์ 4.0 กับอนาคตพืชสวนไทย โดย ผศ.ดร. พีรศักดิ์ ฉายประสาท ศาสตราจารย์ ดร. อรรถชัย จินตเวช ดร.ปราโมทย์ ร่วมสุข และ คุณเปรม ณ สงขลา 1.2 ได้นำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ เรื่อง คุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของผลมะกอกน้ำ 2. การพัฒนาคุณภาพด้านการเรียนการสอน ได้รับฟังการนำเสนองานวิจัยภาคบรรยาย และชมผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ในด้านความก้าวหน้าทางวิชาการ โดยใช้เทคนิคและวิธีการใหม่ๆ ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ในการเพิ่มปริมาณผลผลิต การประเมินคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร ร่วมกับการประเมินคุณภาพแบบไม่ทำลายผลผลิตที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา และ การวิจัยเพื่อพัฒนาการใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพผลผลิตได้ นายอดิศักดิ์ จูมวงษ์ 12 ธันวาคม 2560
คำสำคัญ : พืชสวนแห่งชาติ  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานการเจ้าหน้าที่
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3651  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน อดิศักดิ์ จูมวงษ์  วันที่เขียน 18/12/2560 12:07:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 16:16:11
พืชข้างรั้ว-สวนครัวน้อย » หอมกลิ่น...ชมจันทร์
ดอกชมจันทร์ มีอีกชื่อหนึ่งที่เรียกกันคือ "บานดึก"เนื่องจากดอกจะบานในช่วงเวลากลางคืนมีสรรพคุณช่วยแก้ร้อนใน ทำให้นอนหลับและเป็นยาระบายอ่อนๆ รวมทั้งมีคุณค่าทางโภชนาการอุดมไปด้วย โปรตีน วิตามินบี ซี ฟอสฟอรัสและมีแคลเซียมสูง
คำสำคัญ : คณะผลิตกรรมการเกษตร  ชมจันทร์  พืชผักสวนครัว  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ห้องสมุด  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ธุรกิจการค้า
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4452  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 22/10/2558 16:14:02  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:02
Green Life » เกษตรพอเพียงกับสวนครัว(น้อย)
การปลูกพืชผักสวนครัวในแนวเกษตรอินทรีย์จะช่วยทำให้เกิดความสมดุลในระบบนิเวศของธรรมชาติ เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงการได้บริโภคพืชผักสวนครัวที่ปลอดภัยช่วยทำให้ชีวิตยืนยาวและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
คำสำคัญ : เกษตรพอเพียง  เกษตรอินทรีย์  พืชผักสวนครัว  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4779  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 29/5/2558 16:01:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:48:59
Green Life » ผักริมรั้ว-สวนครัวหลังบ้าน
การปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทานเอง นอกจากจะได้รับประทานผักที่สะอาดปลอดภัยแล้วยังช่วยทุ่นค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในการซื้อพืชผักได้อีกมาก ที่สำคัญพืชผักสวนครัวเหล่านี้ สามารถเป็นได้ทั้งอาหารและเป็นสมุนไพรที่ช่วยต้านโรคและบำรุงสุขภาพร่างกายได้เป็นอย่างดี
คำสำคัญ : กระเจี๊ยบเขียว  ผักริมรั้ว  พืชผักสวนครัว  มะเขือเปราะ  มะระจีน  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 7590  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 26/5/2558 9:54:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:44:30
Green Life » Green life ตอน..."เรื่องราวของคนรักผัก"
การปลูกพืชผักสวนครัวในแนวเกษตรอินทรีย์ช่วยทำให้ชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีความปลอดภัย ในฐานะที่ผู้เขียนเป็นส่วนหนึ่งของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอร่วมส่งเสริมสนับสนุนและสืบสานนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม นำไปบูรณาการสู่การปฏิบัติตามแนวทางของมหาวิทยาลัยที่ขับเคลื่อนสู่่การเป็น Organic Green and Eco University
คำสำคัญ : คนรักผัก  น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน  พืชผักสวนครัว  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4974  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 15/9/2557 10:44:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:51:48