เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
ถ่านชีวภาพ
Blog : ถ่านชีวภาพ
รหัสอ้างอิง :
231
ชื่อสมาชิก :
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
เพศ :
ชาย
อีเมล์ :
thanasit@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก :
บุคลากรภายใน [
สังกัด
]
ลงทะเบียนเมื่อ :
16/2/2554 11:41:56
แก้ไขล่าสุดเมื่อ :
16/2/2554 11:41:56
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : ถ่านชีวภาพ
1
การผลิตถ่านชีวภาพและการประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพ
ถ่านชีวภาพ
»
การวิเคราะห์สมบัติของถ่านชีวภาพตามมาตรฐาน
ถ่านชีวภาพที่ผลิตได้จะมีสมบัติแตกต่างกันตามกระบวนการและวัสดุที่ใช้ในการผลิต หากจะนำมาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะการนำมาใช้ในการเกษตร พืชก็มีความต้องการสมบัติของ ดิน น้ำ ถ่านชีวภาพที่มีความเหมาะสมกับชนิดและสภาพแวดล้อมของพืชที่ปลูก การวิเคราะห์หาสมบัติของถ่านชีวภาพ ในต่างประเทศได้มีการกำหนดมาตรฐานสมบัติของถ่านชีวภาพ และวิธีการวิเคราะห์
คำสำคัญ :
ถ่านชีวภาพ มาตรฐาน การวิเคราะห์
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1976
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
17/3/2565 14:57:05
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 16:19:47
ถ่านชีวภาพ
»
การลดปริมาณ PAHs ด้วยถ่านชีวภาพในผลผลิตเกษตร
ในผลผลิตเกษตรมีการปนเปื้อน PAHs จากในดินและในอากาศ แนวทางหนึ่งในการลด PAHs มีการนำถ่านชีวภาพมาใช้ผสมในดินเพื่อช่วยลด PAHs จากในดิน ทั้งนี้การผลิตถ่านชีวภาพเองก็ทำให้เกิด PAHs ในถ่านชีวภาพอีกด้วย การผลิตถ่านชีวภาพที่เหมาะสมจะช่วยลด PAHs ให้มีปริมาณต่ำเพื่อให้ตามมาตรฐานเพื่อทีจะนำมาใช้ปรับปรุงดิน
คำสำคัญ :
PAHs
ถ่านชีวภาพ
ผลผลิตเกษตร
สารก่อมะเร็ง
สารปนเปือน
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1717
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
2/8/2564 9:34:06
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 23:48:02
ถ่านชีวภาพ
»
การผลิตถ่านชีวภาพ โดย อ.อรสา มูลนิธิ BEBC
ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้และทีมวิจัย GET ได้มีโอกาส เชิญ อ.อรสา มูลนิธิ BEBC มาบรรยายการผลิตถ่านชีวภาพและประโยชน์ของการใช้ถ่านชีวภาพในการปรับปรุงดินและการปลูกพืช ให้กับเกษตรกรและผู้สนใจในจังหวัดเชียงใหม่ และมีความร่วมมือกันระหว่างทีมวิจัยและ อ.อรสา โดยทางทีมวิจัยได้เผยแพร่ความรู้การผลิตถ่านชีวภาพและการนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตรให้กับเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือ
คำสำคัญ :
อ.อรสา BEBC
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1552
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
10/6/2564 23:09:13
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 9:12:44
ถ่านชีวภาพ
»
ความแตกต่างระหว่าง ถ่านชีวภาพ ไบโอชาร์ กับถ่านเชื้อเพลิง คาร์บอนกัมมันต์
ในกระบวนการเผาถ่าน เราจะพบว่าของแข็งที่เผาได้มีสีดำ เราจะแยกได้อย่างไร ว่าเป็นถ่านไบโอชาร์ หรือถ่านชีวภาพ หรือเป็นถ่านเชื้อเพลิง หรือถ่านกัมมันต์
คำสำคัญ :
ถ่านชีวภาพ ถ่านเชื้อเพลิง ความแตกต่าง
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2547
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
10/6/2564 22:31:38
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 5:58:43
ถ่านชีวภาพ
»
การปลูกเมลอนด้วยไบโอชาร์
โดยทั่วไปการปลูกเมลอน จะใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี ในการจัดการแมลงโรค ทางทีมวิจัยได้ทดลองทำการปลูกเปรียบเทียบการปลูกเมลอน ด้วยปุ่ยเคมีและอินทรีย์ โดยใช้ไบโอชาร์
คำสำคัญ :
ถ่านชีวภาพ ไบโอชาร์ เมลอน ปุ๋ยเคมี อินทรีย์
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2694
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
22/3/2564 15:14:14
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 0:24:28
ถ่านชีวภาพ
»
ลดการปนเปื้อนของสารเคมีตกค้างในดิน น้ำและพืชที่ปลูก ด้วยถ่านชีวภาพ หรือไบโอชาร์
การทำเกษตรอินทรีย์ โดยเปลี่ยนจากเกษตรเคมี เกษตรปลอดภัย มีระยะเวลาการปรับเปลี่ยน สารเคมีที่ตกค้างในดิน น้ำ รวมถึงการทำแนวกั้น เพื่อลดการปนเปื้อนของสารเคมีจากพื้นที่รอบข้าง ล้วนเป็นปัจจัยที่ต้องพิจารณา การตกค้างของสารเคมีในผลผลิตเกษตร สามารถมาจากดิน น้ำ ที่มีสารเคมีตกค้าง ปนเปื้อนมา การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพในดิน น้ำ รวมถึงการทำแนวกั้นโดยใช้ถ่านชีวภาพเป็นวัสดุกรองและดูดซับสารเคมีที่ปนเปื้อนเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ ลดการปนเปื้อนในพืชที่ปลูกได้
คำสำคัญ :
ถ่านชีวภาพ
ปนเปื้อน
สารเคมี
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1950
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
9/2/2564 12:38:39
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 12:59:33
ถ่านชีวภาพ
»
การประยุกต์ใช้ไบโอชาร์สำหรับลดโลหะหนักในดินและพืช
มีการนำไบโอชาร์หรือถ่านชีวภาพจากชีวมวล มาใช้เป็นวัสดุปลูก เพื่อลดการดูดซับโลหะหนักในพืชที่ปลูก โดยไบโอชาร์จะทำหน้าที่ตรึงโลหะหนัก ไว้ เช่น ตะกั่ว แคดเมียม สารหนู เป็นต้น
คำสำคัญ :
ข้าว
แคดเมียม
ตะกั่ว
ถ่านชีวภาพ
ไบโอชาร์
ปรอท
ผัก
โลหะหนัก
สารหนู
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
2260
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
9/2/2564 12:37:08
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 15:17:55
ถ่านชีวภาพ
»
การปรับปรุงดินและปลูกพืช ด้วยไบโอชาร์
การนำถ่านชีวภาพไปใช้ปรับปรุงคุณภาพดิน ในด้าน กายภาพ เคมี และชีวภาพ ในด้านกายภาพถ่านชีวภาพมีความเป็นรูพรุน ทำให้ดินร่วน ช่วยทำให้ดินอุ้มน้ำ เก็บรักษาปุ๋ย และเป็นอาหารและที่อยู่อาศัยให้กับกลุ่มจุลชีพในดิน
คำสำคัญ :
soil amendment
ปรับปรุงดิน
ปลูกพืช
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1978
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
9/2/2564 12:33:53
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
20/11/2567 15:51:28
ถ่านชีวภาพ
»
เตาถ่านชีวภาพหรือเตาไบโอชาร์ และการผลิตถ่านชีวภาพ
ในปัจจุบัน มีหลายวิธีในการผลิตถ่านชีวภาพ และมีการนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย โดยในบทความนี้จะมุ่งเน้นไปที่เตาผลิตถ่านชีวภาพหรือเตาไบโอชาร์ ที่ใช้เพื่อผลิตถ่านชีวภาพ
คำสำคัญ :
biochar
kiln
เตา
เตาไบโอชาร์
ถ่าน
ถ่านชีวภาพ
ไบโอชาร์
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
9876
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
22/8/2563 23:34:42
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 17:39:51
ถ่านชีวภาพ
»
การผลิตถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์
ถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ (Biochar) คือวัสดุที่อุดมด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ฟางข้าว เหง้ามันสําปะหลัง ซังและต้นข้าวโพด มูลสัตว์ กากตะกอนของเสีย เป็นต้น แม้กระทั่งมูลสัตว์นำมาผ่านกระบวนการเผาไหม้ที่มีการควบคุม อุณหภูมิและอากาศหรือจำกัดอากาศให้เข้าไปเผาไหม้น้อยที่สุดซึ่งกระบวนการเผาไหม้นี้ เรียกว่า “การแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิส” ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยมาก มีงานวิจัยที่ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมีหลายด้าน เช่น การปรับปรุงดิน และช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการปลูกได้อีกด้วย แล้วแต่ชนิดของพืชที่ปลูก มีงานวิจัยที่นำถ่านชีวภาพไปใช้กับพืชทางการเกษตร ใช้เป็นวัสดุปลูกร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตร การลดการดูดซับสารเคมีที่ใช้กำจัดวัชพืชและศัตรูพืช และโลหะหนักที่อยู่ในดินและน้ำ ของพืชที่ปลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีกลุ่มนี้ไว้ ทำให้ลดผลกระทบต่อพืชที่ปลูกจากสารเคมีและโลหะหนักที่ปนเปื้อน ใช้ดูดซับน้ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นตัวเร่ง ในปฏิกริยาในกระบวนการผลิตไบโอดีเซละและไบโอแก๊ส ใช้เป็นวัสดุเพื่อผลิตชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์ ผลิตกราฟีน เป็นต้น
คำสำคัญ :
biochar
kiln
กราฟีน
ความร้อน
ดูดซับ
ตัวเร่ง
เตา
เตาไบโอชาร์
ถ่าน
ถ่านชีวภาพ
บำบัดน้ำเสีย
ไบโอชาร์
ปนเปื้อน
ปรับปรุงดิน
ปุ๋ยหมัก
ผักสวนครัว
ไม้ผล
โลหะหนัก
สมุนไพร
สารเคมีปนเปื้อน
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
66693
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
26/10/2562 20:32:24
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:04:06
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
https://erp.mju.ac.th/blog.aspx?bid=728