การเขียนบทความลงวารสารวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
วันที่เขียน 28/9/2566 13:16:08     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 19:09:59
เปิดอ่าน: 406 ครั้ง

บทความวิชาการมีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นรูปแบบอันเป็นสากลในการเผยแพร่ความรู้ ความคิด และพัฒนาการที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ในแง่มุมต่าง ๆ มหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้จัดทำ “วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม” ขึ้นเพื่อส่งเสริมการผลิตและเผยแพร่บทความ วิชาการโดยมีกำหนดการตีพิมพ์เป็นราย 4 เดือน หรือ กำหนดออกปีละ 3 ฉบับ ในเดือนมกราคม พฤษภาคม และเดือนกันยายน ของทุกปี • ประเภทผลงานที่รับตีพิมพ์ - บทความปริทัศน์ (Review Article) ทั้งในรูปแบบของการเรียบเรียงผลงานวิจัยที่ผ่านมา และการเรียบเรียงสรุปความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สารสนเทศในด้านใดด้านหนึ่ง หรือบทความแนะนำองค์ความรู้ในสาขาการวิจัยที่น่าสนใจ (Tutorial Article) - บทความวิชาการ (Academic Article) ที่ให้ความรู้อันเป็นประโยชน์แก่นักวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือประชาชนทั่วไป - บทความวิจัย (Research Article) ด้านนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ • ขอบเขตของบทความวิชาการ - งานวิจัยและบทความทางวิชาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - งานวิจัยและบทความในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ - งานวิจัยและบทความด้านอื่น ๆ ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั่วประเทศ Ref: https://mitij.mju.ac.th/JOURNAL/1.Promote_MITIJ.pdf

ตัวอย่างการเขียนบทความลงวารสาร

ชื่องานวิจัยภาษาไทย

ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ

 

ชื่อนักวิจัย นามสกุล*, ชื่อนักวิจัย นามสกุล ,ชื่อนักวิจัย นามสกุล และ ชื่อนักวิจัย นามสกุล

สาขา….. คณะ….. มหาวิทยาลัย…..

 

Name Lastname*, Name Lastname, Name Lastname and Name Lastname

Department of ……, Faculty of ……, …… University

*Corresponding author: name@mju.ac.th

 

Abstract

…………., the Thai poem game was developed for students as a tool for skill development. It consists of four steps: 1) Word Education (WE); 2) Relationship Education between Sentences (RES); 3) Relationship Education between Sentences of a Quatrain (RESQ); and 4) Relationship Education between Sentences of a Thai Octameter Poem (RESTOP). …………

 

Keywords: Thai poetry, 3D, horror game, Quatrain, Thai octameter poem

 

บทคัดย่อ

………… โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการพัฒนาความรู้ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด 2) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค 3) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ และ 4) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด …………

 

คำสำคัญ: โคลงกลอนไทย  3 มิติ เกมสยองขวัญ  โคลงสี่สุภาพ กลอนแปด

 

  1. บทนำ

สุนทรี เฉลิมพงศธร. (2533) ……… สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2538) …… นวพร สุรนาคะพันธุ์ (2554) ……….  โดยในงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์หลักในการนำเกมเข้ามาใช้ในการพัฒนาความรู้ทั้ง 4 ขั้นของนักศึกษา ซึ่งประกอบด้วย 1) การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด 2) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค 3) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ และ 4) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด

 

  1. วัตถุประสงค์การวิจัย

เพื่อใช้เกมความรู้ด้านโคลงสี่สุภาพและกลอนแปดที่พัฒนาขึ้นเป็นเครื่องมือในการพัฒนาความรู้สำหรับนักศึกษา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด 2) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค 3) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ และ 4) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด

 

  1. หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

3.1 โคลงสี่สุภาพและกลอนแปด

อลงกรณ์ พลอยแก้ว (2566) …………….

3.2 กลอนแปด

ยุวดี (2566) …………

 

  1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

          ณัฏฐา ผิวมา (2564) ……… พงษ์พิพัฒน์ สายทอง และคณะ (2564) …….. อรอุมา พร้าโมต (2553) ……….  ธิมา ไหมแพง (2560) ……… อภินันท์ ภิรมย์ และคณะ (2561) …….. พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์ (2558) ......... วลิดา เชาว์ไฝ (2559) ………

 

  1. วิธีดำเนินการวิจัย

5.1 เนื้อหาของเกม

               ………..การพัฒนาความรู้โดยผ่านด่านจำนวน 4 ด่าน ประกอบด้วย 1) ด่านพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพและกลอนแปด ………. 2) ด่านพัฒนาความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างวรรค ……… 3) ด่านพัฒนาความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ …….. 4) ด่านพัฒนาความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด ……….

5.2 ระบบเชิงสัมพันธ์

                …………….การประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1) การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด 2) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค 3) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ และ 4) การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด

 5.3 การออกแบบฉากและตัวละคร

ด่านที่ 1 ชั้นเรียน ……….ด่านที่ 2 เขาวงกต ……… ด่านที่ 3 ตึกร้าง …..ด่านที่ 4 ประตู ……..

5.4 การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด

               ……………………………………

 5.5 การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค

               …………………………………….

 5.6 การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ

……………………………………..

 5.7 การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด

               ---------------------------------

 

  1. ผลการวิจัย

          การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด ----------------   

          การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค ---------------------------------------------

การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ ------------------------

การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด -------------------

  1. สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย

การพัฒนาความรู้ทางด้านคำสำหรับโคลงสี่สุภาพกับกลอนแปด -------- การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรค --------  การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคโคลงสี่สุภาพ -------- การพัฒนาความรู้ความสัมพันธ์ระหว่างวรรคกลอนแปด --------

  1. กิตติกรรมประกาศ

          โคลงงานนี้สามารถประสบความสำเร็จได้เนื่องจากได้รับความกรุณาจาก………….คณะผู้วิจัยจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้

    9. เอกสารอ้างอิง

ณัฏฐา ผิวมา. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานด้วยบูรณาการเทคโนโลยีเกมคอมพิวเตอร์.

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 7 Special (2564):

1-15.

ธิมา ไหมแพง. (2560). เกมสยองขวัญและเกมผีไทยบนแพลตฟอร์มดิจิทัลกับทุนทางวัฒนธรรม.

(วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นวพร สุรนาคะพันธุ์. (2554). การท่องบทอาขยานภาษาไทย : จากยาขมสู่ยาขนานเอก.

วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 7(1): 69-79.

พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์. (2558). การพัฒนาแบบฝึกการแต่งโคลงสี่สุภาพสำหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ ปริญญา ศษ.บ. (วิชาการสอนภาษาไทย)). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงษ์พิพัฒน์ สายทอง และคณะ. (2564). การออกแบบเกมดิจิทัล. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล.

7(2): 217-228.

ยุวดี. (2566). กลอนแปด คืออะไร? ลักษณะแผนผังกลอนแปด ที่ควรรู้. ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์

สืบค้นจาก https://teen.mthai.com/education/170123.html.

วลิดา เชาว์ไฝ. (2559). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการแต่งคำประพันธ์ประเภทกลอนแปด เพื่อส่งเสริม

ทักษะในการแต่งกลอนแปด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารออนไลน์บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 1-14.

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์. (2538). วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่

2). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทรี เฉลิมพงศธร. (2533). ความคิดเห็นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเกี่ยวกับวรรณกรรม

ร้อยกรองไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนภาษาไทย)) บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภินันท์ ภิรมย์ และคณะ. (2561). การพัฒนาเกมสามมิติ เรื่อง เกมทางออกอยู่ไหน. วารสารวิชาการ

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. 2(2): 9-15.

อรอุมา พร้าโมต. (2553). รู้จักเกม (About of game). วารสารวิทยาศาสตร์. 11(1-2): 63-69.

อลงกรณ์ พลอยแก้ว. (2566). โคลงสี่สุภาพ. ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2566. สืบค้นจาก

https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34245.

Adobe. (2566). Mixamo: Animate 3D characters for games, film, and more.      

ค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2566. สืบค้นจาก  https://www.mixamo.com.

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:52   เปิดอ่าน 101  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:41   เปิดอ่าน 250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:22   เปิดอ่าน 98  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง