การเขียน SAR ระดับหลักสูตรเชิงลึก
วันที่เขียน 20/3/2560 22:23:20     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/5/2568 6:19:35
เปิดอ่าน: 3222 ครั้ง

การเขียน SAR เป็นสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา

ในการที่ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมอบรม "การเขียน SAR ระดับหลักสูตรเชิงลึก" ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 19-20 มีนาคม 2560 ณ สวนสวรรค์ รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ วิทยากร ได้แก่ ผศ.ปรานี พรรณวิเชียร และ รศ.เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร ความรู้ที่ได้ในการอบรมมีดังนี้

การเขียน SAR หรือที่เราเรียกว่า มคอ.7 จะประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งหมด 7 องค์ประกอบ ได้แก่

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ในการอบรมครั้งนี้วิทยากรทั้ง 2 ท่านได้ให้คำวิพากษ์และข้อเสนอแนะในแต่ละองค์ประกอบ แต่จะยกตัวอย่างในองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ ดังนี้

- การเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอน

- การมีส่วนร่วมในแต่ละระดับในการจัดทำแผน หรือจัดหาสิ่งสับสนุนการเรียนรู้

- การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น

เพื่อนำคำแนะนำเหล่านี้ มาปรับปรุงในการเขียน SAR ครั้งต่อไป

 

คำสำคัญ :
SAR  
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=661
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
งานวิจัย » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568ครั้งนี้ เปิดมุมมองใหม่ด้านอาชีพ เทคโนโลยีเกษตร เกมที่ช่วยในการการเรียนรู้ และนาโนเซ็นเซอร์ เสริมทักษะนักศึกษาและอา...
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 13/5/2568 20:04:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/5/2568 22:13:30   เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
งานวิจัย » การวิเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ
จากการเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้: การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและเห็ดในประเทศไทยเชิงสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 7/5/2568 12:07:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/5/2568 15:23:51   เปิดอ่าน 33  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง