“การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ครั้งที่ 3 : การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัย 4.0”
วันที่เขียน 14/3/2560 14:49:46     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 13:48:15
เปิดอ่าน: 3044 ครั้ง

การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัย 4.0 เพื่อการผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะตามที่โลก 4.0 ต้องการ คือ มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทัศนคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม จริยธรรม ซึ่งรูปแบบการสอนได้เปลี่ยนแปลงการถ่ายทอดความรู้ มาเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต ผ่านการฝึกฝนให้เกิดทักษะโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ในหลากหลายมิติ

การประชุมสัมมนาวิชาการ “การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ครั้งที่ 3 : การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัย 4.0”   จัดอบรมโดย สถาบันคลังสมองของชาติ ร่วมกับ สำนักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยามหิดล และสถาบันการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยได้รับฟังการบรรยายจากวิทยากรทั้งไทยและต่างประเทศจาก หลายสถาบัน ทำให้ได้ทราบว่า การพัฒนามนุษย์ในโลกที่ก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ที่มีการปลี่ยนแปลงเร็ว และซับซ้อน เต็มไปด้วยการเจริญในด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี การจัดการด้านศึกษา จึงต้องพัฒนาคนให้ทันต่อโลกปัจจุบัน ซึ่งการเรียนการเรียนการสอนแบบเดิมอาจไม่ตอบโจทย์การศึกษาในโลกปัจจุบัน หรือ อนาตค  การเปลี่ยนแปลงสู่มหาวิทยาลัย 4.0 เพื่อการผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะตามที่โลก 4.0 ต้องการ คือ มีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีทัศนคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม จริยธรรม ซึ่งรูปแบบการสอนได้เปลี่ยนแปลงการถ่ายทอดความรู้ มาเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต ผ่านการฝึกฝนให้เกิดทักษะโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ในหลากหลายมิติ ทางผู้จัดโครงการฯ ได้สาธิตการนำเทคโนโลยีดิจิทัล การจัดสภาพแวดล้อม และกระบวนการถ่ายทอด ในการเรียนการสอน เช่น การเรียนการสอนแบบ Flipped learning, Ubiquitous learning, Cloud learning หรือ Outcome-based Tracking ที่สามารถเอื้อต่อผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ เพิ่มกระบวนความคิด และสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ แต่ท้ายที่สุด Technology won’t replace teachers but teachers who use technology will probably replace teachers who do not.

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=646
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง