ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ หลักสูตรการทำไวน์และสุนทรียของการดื่มไวน์
วันที่เขียน 7/6/2566 14:31:27     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 10:39:48
เปิดอ่าน: 251 ครั้ง

เป็นการเข้าฟังบรรยายเรื่อง การผลิตไวน์และศิลปะการเตรียมไวน์ และเรื่อง Health Effect of Wine ซึ่งแอลกอฮอล์ที่อยู่ในไวน์ร่างกายสามารถใช้เป็นแหล่งพลังงาน โดยให้พลังงาน 7 kcal/g นอกจากนี้ไวน์ยังมีกรดอินทรีย์ สารฟีนอลลิก ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ จากนั้นได้ปฎิบัติการทำไวน์จากแบลคเบอรี่

1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ เข้าร่วมฟังบรรยาย เรื่อง การผลิตไวน์และศิลปะการเตรียมไวน์ จาก อ.กัญญา บุตรราช คณะวิทยาศาวตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยเนื้อหาเป็นการอธิบายเรื่องประวัติของไวน์ ชนิดของไวน์ การผลิตไวน์ เข้าร่วมฟังบรรยาย เรื่อง Health Effect of Wine จาก ผศ.ดร. เจษฏา เรืองสุริยะ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเนื้อหาเป็นการอธิบายเรื่อง ประโยชน์ของไวน์ ได้แก่ เอทานอล ปริมาณแอลกอฮลอ์ที่ควรบริโภคในเพศหญิง 1 unit/day ชาย 2 unit/day โดยที่ 1 unit = 8 g of alcohol ส่วนสุนทรียของการดื่มไวน์ ใช้หลัก 5 S คือ See (ดู) Swirl (วนแก้วไวน์) Sniff (ดม) Sip (จิบ) Savor (ดื่มด่ำ) ฝึกปฎิบัติการทำไวน์จากแบลคเบอรี่ และ wine teasting 2. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ จากการเข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการครั้งนี้ ทำให้ได้รับความรู้เรื่องการผลิตไวน์ และ Health Effect of Wine สามารถนำมาใช้สอดแทรกในการเรียนการสอนรายวิชา ชว 450 เทคโนโลยีการหมัก ชว 454 การผลิตเอทานอลทางเทคโนโลยีชีวภาพ ชว 497 สหกิจศึกษา, ชว 498 การเรียนรู้อิสระ 3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) พัฒนาการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLOs) ข้อ 1 และ 2 ของหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1350
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การใช้งาน ChatGPT » เทคนิคการใช้ AI: Chat GPT ช่วยทำงานวิจัยให้สำเร็จ
การใช้งาน ChatGPT ในงานวิจัยเพื่อให้ผู้วิจัยสามารถรวบรวมข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะการโต้ตอบกับ ChatGPT เป็นภาษาอังกฤษ ที่สามารถรวบรวมข้อมูลมาจากหลายแหล่งทั่วโลก ขณะที่การโต้ตอบด้วยภาษาไทยยังม...
AI  ChatGPT  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ก่องกาญจน์ ดุลยไชย  วันที่เขียน 18/7/2567 10:41:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/7/2567 1:52:31   เปิดอ่าน 43  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 1:09:59   เปิดอ่าน 47  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/7/2567 14:46:44   เปิดอ่าน 49  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 3:47:24   เปิดอ่าน 63  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 9:10:59   เปิดอ่าน 74  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง