Formative and Summative Assessments
วันที่เขียน 25/11/2562 23:30:35     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/5/2568 2:26:20
เปิดอ่าน: 32715 ครั้ง

การประเมินผลที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนที่ส่งเสริมและพัฒนาผลการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การประเมินผลในรูปแบบการประเมินผลย่อย จึงน่าจะมีสัดส่วนสำคัญมากกว่าการประเมินผลสรุป

Formative Assessment (การประเมินผลย่อย)     

     เป็นการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา  การวัดผลจะเน้นที่กระบวนการในการเรียนรู้ซึ่งสะท้อนตัวผู้เรียนที่แท้จริง  ทำให้ผู้สอนสามารถวินิจฉัยจุดที่ควรพัฒนา และสามารถนำข้อมูลนั้นมาพัฒนาปรับปรุงเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีผลลัพธ์ที่ดีตาม Learning Outcome ที่กำหนดไว้


Summative Assessment  (การประเมินผลสรุป)     

     เป็นการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้ เพื่อตัดสินคุณภาพ  การวัดจะเน้นสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้/ผลการเรียนรู้ ที่เป็นไปตามมาตรฐานที่ตั้งไว้  แนวทางการประเมินจะให้เป็นคะแนนและเกรด ทำให้การวัดรูปแบบนี้เป็นการจำแนกระดับสติปัญญาของผู้เรียน แต่ไม่ได้มุ่งมั่นในการส่งเสริมผลลัพธ์ที่ดี 


จากรูปแบบการประเมินผลที่ได้กล่าวมา ทำให้เห็นได้ว่าแนวทางการประเมินผลที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนที่ส่งเสริมและพัฒนาผลการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การประเมินผลในรูปแบบการประเมินผลย่อย จึงน่าจะมีสัดส่วนสำคัญมากกว่าการประเมินผลสรุปในรูปแบบเดิมๆที่ใช้ต่อเนื่องกันมายาวนาน

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1077
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
งานวิจัย » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568ครั้งนี้ เปิดมุมมองใหม่ด้านอาชีพ เทคโนโลยีเกษตร เกมที่ช่วยในการการเรียนรู้ และนาโนเซ็นเซอร์ เสริมทักษะนักศึกษาและอา...
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 13/5/2568 20:04:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/5/2568 22:13:30   เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
งานวิจัย » การวิเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ
จากการเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้: การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและเห็ดในประเทศไทยเชิงสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 7/5/2568 12:07:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/5/2568 15:23:51   เปิดอ่าน 33  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง