รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : การประกันคุณภาพการศึกษา
ความรู้ทางฟิสิกส์กับการทำงานในยุคศตวรรษที่ 21 » สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ AUN-QA Overview
เกณฑ์ AUN-QA Version 4.0 มีทั้งหมด 8 เกณฑ์ เป็นการพัฒนาปรับปรุงจาก Version 3.0 ซึ่งมี 11 เกณฑ์ โดยรวมเกณฑ์ 2 กับ 3 และรวมเกณฑ์ 7 กับ 8 ไว้ด้วยกัน ส่วนเกณฑ์ 10 รวมเข้าไปในเกณฑ์อื่น ๆ
คำสำคัญ : PLOs  การประกันคุณภาพการศึกษา  เกณฑ์ AUN-QA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 835  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วิชาญ คงธรรม  วันที่เขียน 28/9/2565 20:19:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 2:27:12
สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการ AUN-QA Overview
การประเมินหลักสูตรโดยใช้เกณฑ์ AUN-QA จากเดิม Version 3.0 มีเกณฑ์การประเมินทั้งหมด 11 เกณฑ์ ตอนนี้มีการพัฒนาเป็น Version 4.0 มีเกณฑ์การประเมินทั้งหมด 8 เกณฑ์ ซึ่งเป็นการปรับปรุงจาก Version 3.0 โดยยุบรวมเกณฑ์ข้อที่ 2 กับ 3 และมีการยุบรวมเหกณฑ์ข้อที่ 7 กับ 8 ส่วนเกณฑืข้อที่ 10 มีการกระจายไปอยู่ตามเกณฑ์ข้อต่าง ๆ
คำสำคัญ : PLOs  การประกันคุณภาพการศึกษา  เกณฑ์ AUNQA  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 800  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 26/9/2565 21:50:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/11/2567 16:56:03
การเผยแพร่ความรู้จากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรเชิงลึก ครั้งที่ 1
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ที่ดี ผู้เขียนรายงานจะต้องมีความเข้าใจเกณฑ์ ว่าวัดอะไร โดยในคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ในแต่ละตัวบ่งชี้ จะมีคำอธิบายเขียนอยู่ ซึ่ง ในการเขียนรายงานการดำเนินการของหลักสูตรให้เขียนตามคำอธิบายตัวบ่งชี้ เพราะผู้ประเมินจะใช้คำอธิบายเหล่านี้ในการให้คะแนนการประเมิน
คำสำคัญ : การประกันคุณภาพการศึกษา  ตัวบ่งชี้  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 6739  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 20/3/2560 22:33:02  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 16:57:35
ผลงานวิจัย » การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลความพร้อมของบุคลากรเพื่อรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบของความพร้อมของบุคลากร และ 2)วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของบุคลากรเพื่อรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยใช้แบบสอบถามเก็บจากตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุน ในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 318 คน ผู้วิจัยได้ชักตัวอย่างแบบสุ่มเชิงเดียว (Simple Random Sampling) ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirm Factor Analysis) ด้วยโปรแกรม LISREL 8.52 และวิเคราะห์หาปัจจัยด้วยการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) จากผลการวิจัยที่ได้พบว่า องค์ประกอบความพร้อมด้านความรู้ ความพร้อมด้านจิตพิสัย และความพร้อมด้านทักษะ มีค่าความเที่ยงสูง และองค์ประกอบส่วนใหญ่อธิบายความแปรปรวนของตัวแปรในองค์ประกอบได้สูง ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของบุคลากรเพื่อรองรับการประกันคุณภาพการศึกษาพบว่าในด้านความรู้ ประกอบด้วย ประสบการณ์ทำงาน ความสามารถในการรับรู้ข้อมูลสื่อสาร และการได้รับการอบรมเพิ่มพูนความรู้ ส่วนในด้านจิตพิสัย ประกอบด้วย ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน การสร้างแรงจูงใจของผู้บริหาร และการได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ และด้านทักษะ ประกอบด้วยความรับผิดชอบในการดำเนินการด้านประกันคุณภาพการศึกษา ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และการรับรู้กำหนดการของแผนการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
คำสำคัญ : การประกันคุณภาพการศึกษา  การวิเคราะห์ปัจจัย  ความพร้อม  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3752  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน หนึ่งหทัย ชัยอาภร  วันที่เขียน 28/8/2558 9:23:55  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 3:41:34
การเผยแพร่ความรู้จากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมอบรมในโครงการสัมมนาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2557
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นภาระกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติ โดยมีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดให้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ประกอบด้วย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และ เพิ่มองค์ประกอบอื่น ๆ ที่สำคัญและจำเป็น โดยในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (พ.ศ. 2557-2556) จะแบ่งระดับการประกันคุณภาพการศึกษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชา และ ระดับสถาบัน
คำสำคัญ : การประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4356  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 2/3/2558 16:12:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 21:23:34