จากวิธีการแบบเดิมซึ่งใช้พีชคณิต เปลี่ยนมาเป็นวิธีการที่ใช้แคลคูลัส เนื่องจากผู้เรียนควรจะคุ้นเคยกับความสัมพันธ์ทั่วไประหว่างตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่ง (เช่น และ ) และลักษณะเฉพาะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (เช่น ไม่มีความเร่งในแนวแกน x) เมื่อ และ เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแนวแกน x และ y ตาม ลำดับ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ที่บริเวณใกล้ผิวโลกมีสมการความเร่งเป็นสมการเดียวกัน คือ และมีสมการความเร็วและสมการตำแหน่งมีรูปแบบเดียวกัน คือ และ ตามลำดับ ต่างกันเพียงค่าคงที่ของเงื่อนไขเริ่มต้น เท่านั้น โดยที่ 0 เป็นเวลาเริ่มต้นเคลื่อนที่ ซึ่งเวลานี้วัตถุอยู่ที่จุดอ้างอิง จะได้ว่า เมื่อ t เป็นขณะเวลาใด ๆ ที่โพรเจกไทล์กำลังเคลื่อนที่ และ และ เป็นฟังก์ชันเวกเตอร์ของตำแหน่ง ความเร็ว และความเร่ง ตามลำดับ จึงสรุปได้ว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ใกล้ผิวโลกที่ถือว่าแรงต้านของอากาศมีค่าน้อยมาก สามารถอธิบายการเคลื่อนที่ได้ด้วยวิธีการแคลคูลัสในรูปชุดสมการ
รายละเอียดเพิ่มเติม: https://drive.google.com/file/d/15JAt0qfNjINwQe6-CiD3TLkL142Rog0J/view