รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์: การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียน
วันที่เขียน 25/3/2564 21:24:36     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/5/2568 9:25:10
เปิดอ่าน: 1601 ครั้ง

การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียนเป็นส่วนสำคัญที่ผู้สอนต้องตระหนักและต้องกระทำก่อนที่จะมีการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ทราบถึงพื้นฐานความรู้ที่ผู้เรียนมีต่อเรื่อง นั้น ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทำให้การจัดการเรียนการสอนในเรื่องนั้นๆ มีประสิทธิภาพ

การสำรวจมโนทัศน์ก่อนเรียนทำให้ผู้สอนทราบว่าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในเรื่องนั้น ๆ อย่างไร ซึ่งอาจจะมีลักษณธดังนี้ 1)ผู้เรียนไม่มีความรู้หรือไม่มีมโนทัศน์ในเรื่องนั้นเลย (Unknown) 2)ผู้เรียนมีมโนทัศน์ถูกต้อง 3)ผู้เรียนมีมโนทัศน์คลาดเคลื่อน (Misconception) หรือหรือเข้าใจผิด ซึ่งคำว่ามีมโนทัศน์ถูกต้องหมายถึง เข้าใจตามที่นักวิทยาศาสตร์ได้นิยาม สรุป หรือเป็นไปตามทฤษฎี ส่วนคำว่ามีมโนทัศน์คลาดเคลื่อนหมายถึงมีความเข้าใจที่ไม่ตรงตามที่นักวิทยาศาสตร์ได้นิยาม สรุป หรือไม่เป็นไปตามทฤษฎี เมื่อผู้สอนมีข้อมูลเกี่ยวกับมโนทัศน์ของผู้เรียนก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จะทำให้ผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนได้อย่างมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถแก้ไขมโนทัศน์ของผู้เรียนบางคนที่มีมโนทัศน์คลาดเคลื่อนให้มีมโนทัศน์ที่ถูกต้องได้

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1152
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
งานวิจัย » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568ครั้งนี้ เปิดมุมมองใหม่ด้านอาชีพ เทคโนโลยีเกษตร เกมที่ช่วยในการการเรียนรู้ และนาโนเซ็นเซอร์ เสริมทักษะนักศึกษาและอา...
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 13/5/2568 20:04:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/5/2568 22:13:30   เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
งานวิจัย » การวิเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ
จากการเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้: การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและเห็ดในประเทศไทยเชิงสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 7/5/2568 12:07:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/5/2568 22:38:31   เปิดอ่าน 39  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง