สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการอบรมโปรแกรม AMos
วันที่เขียน 10/9/2561 13:44:39     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 14:33:56
เปิดอ่าน: 3135 ครั้ง

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ ข้าพเจ้า นายเชิดชัย มีเอียด ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดสาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos ระหว่างวันที่ 21-23 มีนาคม 2561 ณ ห้อง MBA2 ชั้น 2 อาคาร 25 ปี ธุรกิจการเกษตร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตามหนังสือขออนุญาตเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos เลขที่ ศธ.0523.4.7/89 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2561 ซึ่งเข้าร่วมอบรมโครงการดังกล่าว ข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรกรณีที่ 2 และข้าพเจ้าขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมอบรมดังกล่าว ดังต่อไปนี้ ข้าพเจ้าเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos โดยมีเนื้อหาการบรรยาย และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้ 1.การวิเคราะห์การถดถอย (regression analysis) 2. ความเข้าใจเบื้องต้นโมเดลสมการโครงสร้าง ขั้นตอนการวิเคราะห์ SEM ด้วย Amos 3. หลักการวิเคราะห์ปัจจัยหรือการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Exploratory and Confirmatory Factor Analysis) 4. First Order CFA และ Second Order CFA 5.การวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) ด้วยโปรแกรม Amos 6. การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) 7. ตัวอย่างงานวิจัยที่วิเคราะห์ด้วย Amos ในการเข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้รับความรู้ และได้ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม Amos โดยใช้ ภาพกราฟิกในการคำนวณ ได้คำนวณแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ได้ และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่โปรแกรม SPSS ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ เช่น การวิเคราะห์เพื่อยืนยันองค์ประกอบ (Confirmatory Factor Analysis) นอกจากนี้ยังได้รับความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Amos ที่มีศักยภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลระยะยาวและข้อมูลภาคตัดขวางหรือข้อมูล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยถ้าพิจารณาในเรื่องของตัวแปรก็สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งตัวแปรเดี่ยวและพหุตัวแปร ที่วัดหลายระดับ ทั้งตัวแปรต่อเนื่องและตัวแปรจัดประเภท จากความรู้ที่ได้รับในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้พัฒนาทักษะด้านการวิจัยและทักษะด้านเทคโนโลยี ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนและการวิจัยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ ข้าพเจ้า นายเชิดชัย มีเอียด ตำแหน่ง อาจารย์ สังกัดสาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos ระหว่างวันที่ 21-23 มีนาคม 2561 ณ ห้อง MBA2 ชั้น 2 อาคาร 25 ปี ธุรกิจการเกษตร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตามหนังสือขออนุญาตเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos เลขที่ ศธ.0523.4.7/89 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2561 ซึ่งเข้าร่วมอบรมโครงการดังกล่าว ข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรกรณีที่ 2 และข้าพเจ้าขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมอบรมดังกล่าว ดังต่อไปนี้ ข้าพเจ้าเข้าร่วมอบรมโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้โปรแกรม Amos โดยมีเนื้อหาการบรรยาย และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้ 1.การวิเคราะห์การถดถอย (regression analysis) 2. ความเข้าใจเบื้องต้นโมเดลสมการโครงสร้าง ขั้นตอนการวิเคราะห์ SEM ด้วย Amos 3. หลักการวิเคราะห์ปัจจัยหรือการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Exploratory and Confirmatory Factor Analysis) 4. First Order CFA และ Second Order CFA 5.การวิเคราะห์เส้นทาง (path analysis) ด้วยโปรแกรม Amos 6. การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) 7. ตัวอย่างงานวิจัยที่วิเคราะห์ด้วย Amos ในการเข้าร่วมการอบรมครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้รับความรู้ และได้ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม Amos โดยใช้ ภาพกราฟิกในการคำนวณ ได้คำนวณแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling : SEM) ได้ และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลที่โปรแกรม SPSS ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ เช่น การวิเคราะห์เพื่อยืนยันองค์ประกอบ (Confirmatory Factor Analysis) นอกจากนี้ยังได้รับความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Amos ที่มีศักยภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลระยะยาวและข้อมูลภาคตัดขวางหรือข้อมูล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยถ้าพิจารณาในเรื่องของตัวแปรก็สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งตัวแปรเดี่ยวและพหุตัวแปร ที่วัดหลายระดับ ทั้งตัวแปรต่อเนื่องและตัวแปรจัดประเภท จากความรู้ที่ได้รับในครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้พัฒนาทักษะด้านการวิจัยและทักษะด้านเทคโนโลยี ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนและการวิจัยให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=865
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง