การเข้าร่วมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงาน SRU2017
วันที่เขียน 2/8/2561 15:03:45     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 14:43:35
เปิดอ่าน: 2335 ครั้ง

งานประชุมวิชาการนานาชาติ SRU International Conference 2017 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2560 ณ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รายงานสรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรม / กิจกรรม 

 

ข้าพเจ้า ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการและเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ SRU International Conference 2017 เมื่อวันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2560 ณ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามหนังสือขออนุญาติเข้าร่วมประชุมเลขที่ ศธ 0823.4.4/265 ลงวันที่ 3 ตุลาคม 2560 โดยภายหลังการเข้าร่วมประชุมวิชาการครั้งนี้ ข้าพเจ้าขอนำส่งสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ดังต่อไปนี้

1.      พัฒนาเกี่ยวกับงานวิจัย

ได้เข้าร่วมฟังบรรยายเรื่อง งานวิจัยและนวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ตามศาสตร์พระราชา โดย ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล โดยเนื้อหากล่าวถึงการนำศาสตร์พระราชามาใช้กับการพัฒนาด้านการเกษตรของประเทศไทยด้านดิน น้ำ ลม ป่า ด้านหลักการปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง

ได้เข้าร่วมฟังเสวนาทางวิชาการ เรื่อง ศาสตร์พระราชานำทางชีวิตสู่ดินแดนภาคใต้ โดยเนื้อหากล่าวถึงการพัฒนาภาคใต้ซึ่งจะเน้นเรื่องทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

ได้เข้าร่วมเสนอผลงานทางวิชาการแบบโปสเตอร์ เรื่อง The Production of Longan Vinegar under Aerobic Condition

        จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการและเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ SRU International Conference 2017 ครั้งนี้ ได้รับความรู้เรื่องความหลากหลายเกี่ยวกับศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยทางด้านชีวภาพ สามารถนำไปใช้พัฒนางานวิจัยและได้จริง และ สามารถต่อยอดเพื่อผลิตเชิงพาณิชย์ได้ในอนาคต

 

2.      พัฒนาเกี่ยวกับการเรียนการสอน

สามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการและเสนอผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ SRU International Conference 2017 ครั้งนี้ มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชา ชว 450 เทคโนโลยีการหมัก วท 497 สหกิจศึกษา และ วท 498 การเรียนรู้อิสระ

ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ในครั้งนี้ จะถูกนำมาปรับปรุงงานประจำ ได้แก่ การสอนในหลายวิชา เช่น ชว 450 เทคโนโลยีการหมัก วท 497 สหกิจศึกษา และ วท 498 การเรียนรู้อิสระเป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถนำมาใช้พัฒนางานวิจัยต่อไปในอนาคตได้

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=816
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง