การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 เรื่อง “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” และโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วันที่เขียน 5/9/2560 12:09:47     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:25:55
เปิดอ่าน: 3019 ครั้ง

การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 เรื่อง “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” และโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” เมื่อวันที่ 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ

การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 เรื่อง “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” และโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “สหวิทยาการสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” แบ่งเนื้อหาออกเป็นหลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยได้ดังนี้

 การนำเสนอผลงานวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เรื่อง การประมาณข้อมูลสูญหายในแผนแบบบล็อกไม่สมบูรณ์แบบสมดุลที่ซ้อนในที่สร้างจากวิธี Harmonised series โดย นางสาวสุพิชชา มาเมืองบน  ได้นำเสนอวิธีในการประมาณข้อมูลสูญหายโดยประยุกต์จากวิธีการประมาณค่าสูญหายในแผนแบบ BIBD การประมาณข้อมูลสูญหาย และการศึกษาการจาลองแบบจะถูกนาเสนอในรูปของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย ผลที่ได้พบว่าวิธีการที่นำเสนอสามารถใช้ในการประมาณข้อมูลสูญหายได้ดี

เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการอนุมานในตัวแบบการถดถอยโลจิสติก โดยนางสาวจารุวรรณ เหมือนเงิน ได้นำเสนอผลงานวิจัยเกี่ยวกับค่าประมาณของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยที่ได้จากวิธี ML มีค่าน้อยกว่าวิธี MCMC ในกรณีสัดส่วนของค่าสังเกตทับซ้อนมีค่าสูง แต่วิธี ML จะให้ค่าประมาณของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยสูงกว่าวิธี MCMC ในกรณีสัดส่วนของค่าสังเกตทับซ้อนมีค่าน้อย

เรื่อง การวิเคราะห์เครือข่ายอัตราผลตอบแทนและปริมาณการซื้อขายของหุ้นใน SET 50 โดยนางสาวอังคณา เกาะแก้ว  ได้นำเสนอผลงานวิจัยเกี่ยวกับเครือข่ายหุ้นที่สร้างภายใต้ระยะห่างบนพื้นฐานวิธีสัญลักษณ์และเครือข่ายหุ้นที่สร้างภายใต้ระยะห่างบนพื้นฐานค่าสหสัมพันธ์มีลักษณะโครงสร้างคล้ายคลึงกันและแสดงการจัดกลุ่มตามประเภทธุรกิจ ดังนี้ กลุ่มธนาคาร กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มพลังงานและสาธารณูปโภค กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=723
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง