การสนับสนุน “คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” (STI coupon for OTOP upgrade) ภายใต้การดำเนินงานคลินิกเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
วันที่เขียน 21/3/2559 15:01:53     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 15:24:51
เปิดอ่าน: 3740 ครั้ง

“คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” ให้บริการใน 6 เรื่อง คือ พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์มาตรฐาน บรรจุภัณฑ์และเครื่องจักร ครอบคลุมกลุ่ม OTOP ทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่มเริ่มต้นทำผลิตภัณฑ์ (Start Up) กลุ่ม OTOP ปัจจุบัน และกลุ่ม OTOP ที่ต้องการก้าวไปสู่ SMEs โดยมีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อาทิสำนักงานปลัดกระทรวง (สป.) กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ (วว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ(องค์การมหาชน) (สนช.) ร่วมกันนำความรู้ความเชี่ยวชาญ และทรัพยากรที่มีรวมถึงเครือข่ายการทำงานในต่างจังหวัดทั้งอุทยานวิทยาศาสตร์และคลินิกเทคโนโลยีมายกระดับ OTOP ทั่วประเทศ พร้อมทั้งจัดช่องทางการจำหน่ายออนไลน์(e-market place) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นให้ด้วย

“คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” ให้บริการใน 6 เรื่อง คือ พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ออกแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์มาตรฐาน บรรจุภัณฑ์และเครื่องจักร ครอบคลุมกลุ่ม OTOP ทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่มเริ่มต้นทำผลิตภัณฑ์ (Start Up) กลุ่ม OTOP ปัจจุบัน และกลุ่ม OTOP ที่ต้องการก้าวไปสู่ SMEs โดยมีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อาทิสำนักงานปลัดกระทรวง (สป.) กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ (วว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ(องค์การมหาชน) (สนช.) ร่วมกันนำความรู้ความเชี่ยวชาญ และทรัพยากรที่มีรวมถึงเครือข่ายการทำงานในต่างจังหวัดทั้งอุทยานวิทยาศาสตร์และคลินิกเทคโนโลยีมายกระดับ OTOP ทั่วประเทศ พร้อมทั้งจัดช่องทางการจำหน่ายออนไลน์(e-market place) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นให้ด้วย 

“คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” มีระยะเวลาดำเนินการ 3 ปี  ผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติครบถ้วน จะมีที่ปรึกษาและแผนพัฒนา OTOP ตามความต้องการที่เหมาะสม เพื่อเลือกใช้บริการใน 6 ด้านดังกล่าว ในวงเงิน 300,000 – 500,000 บาทต่อปีต่อราย โดยสัดส่วนการสนับสนุนเงินคูปองฯ และเงินลงทุนร่วมของผู้ประกอบการ ตั้งแต่ 30% – 70% ขึ้นกับบริการและจำนวนการจ้างงาน ทั้งนี้ ในส่วนของเงินลงทุนร่วมของผู้ประกอบการ อาจจะไม่อยู่ในรูปตัวเงินก็ได้

 

สามารถดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวข้องได้ที่ เวบไซต์ งานบริการวิชาการและวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=504
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) โดยใช้ chat gpt เข้ามาช่วย
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) เป็นกระบวนการที่เรียบร้อยและเป็นระบบในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่มีอยู่เพื่อสรุปข้อมูลและข้อสรุปที่มีค่าในสาขาวิชาต่าง ๆ การใช้ Chat GP...
Chat GPT Systematic Review     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน ศิรินภา อ้ายเสาร์  วันที่เขียน 26/9/2566 16:11:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 3:25:03   เปิดอ่าน 16  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
สรุปรายงานจากการอบรม » วิธีการเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อแสดงการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
การเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อศึกษาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเผยแพร่วิธีการเตรียมสไลด์ ให้ผู้ที่ปฏิบัติงานในหลักสูตรพันธุศาสตร์ ได้นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับส...
สไลด์ถาวร การแบ่งเซลล์ ไมโอซิส meiosis     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 26/9/2566 11:21:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 7:31:03   เปิดอ่าน 19  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ฝึกอบรมการทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review)
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบหรือ Systematic Review คือกระบวนการวิจารณ์วรรณกรรมที่จัดทำโดยใช้ขั้นตอนและเครื่องมือที่มีระเบียบเพื่อสรุปผลลัพธ์จากการวิเคราะห์วรรณกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับหัวข้อห...
Chat GPT  การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ  การอ่านอย่างมีระบบ  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 26/9/2566 3:20:07  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 7:14:54   เปิดอ่าน 16  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง