เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
วันที่เขียน 18/3/2559 9:12:05     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 13:18:06
เปิดอ่าน: 2958 ครั้ง

ในการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ขั้นแรกต้องรู้ว่าจุดประสงค์ของการเขียนเพื่ออะไร เราจะตีพิมพ์ในวารสารแบบไหน นั่นคือเมื่อตีพิมพ์แล้วเราได้อะไรจากการตีพิมพ์ ตงกับวัตถุประสงค์ของเราหรือไม่ ถ้าเป็นจุดประสงค์เพื่อประกอบการขอกำหนดตำแหน่งวิชาการ ก็ต้องตระหนักว่า เป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุหรือไม่ เช่นวารสารที่จะลงไปตีพิมพ์นั้นอยู่ในฐานข้อมูลหรือไม่ ระยะเวลาที่วารสารตอบรับการตีพิมพ์ต้องใช้เวลามากน้อยแค่ไหน และเป็นวารสารที่ตรงกับเนื้อหาบทความของเราหรือไม่ ขั้นที่สำคัญสำหรับการเขียนคือต้องสามารถใช้เทคนิคการคัดลอกข้อความ ประโยค ในบทความอื่นให้เป็นภาษาของเรา (Paraphrasing) รวมถึงการเขียนหัวข้อบทความวิจัย (Possible Title) ส่วนประกอบของบทความโดยเฉพาะรูปภาพประกอบต้องมีความชัดเจนทั้งตัวอักษร ขนาดของรูป และการเชื่อมโยง ส่วนสำคัญของการรับพิจารณาบทความคือการพิจารณาของ Editor-in-Chief ต้องมีจดหมายถึง editor ซึ่งควรระบุชื่อจริงของ Editor และระบุความสำคัญของบทความของเรา

ในการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ขั้นแรกต้องรู้ว่าจุดประสงค์ของการเขียนเพื่ออะไร เราจะตีพิมพ์ในวารสารแบบไหน นั่นคือเมื่อตีพิมพ์แล้วเราได้อะไรจากการตีพิมพ์ ตงกับวัตถุประสงค์ของเราหรือไม่ ถ้าเป็นจุดประสงค์เพื่อประกอบการขอกำหนดตำแหน่งวิชาการ ก็ต้องตระหนักว่า เป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุหรือไม่ เช่นวารสารที่จะลงไปตีพิมพ์นั้นอยู่ในฐานข้อมูลหรือไม่ ระยะเวลาที่วารสารตอบรับการตีพิมพ์ต้องใช้เวลามากน้อยแค่ไหน และเป็นวารสารที่ตรงกับเนื้อหาบทความของเราหรือไม่ ขั้นที่สำคัญสำหรับการเขียนคือต้องสามารถใช้เทคนิคการคัดลอกข้อความ ประโยค ในบทความอื่นให้เป็นภาษาของเรา (Paraphrasing) รวมถึงการเขียนหัวข้อบทความวิจัย (Possible Title) ส่วนประกอบของบทความโดยเฉพาะรูปภาพประกอบต้องมีความชัดเจนทั้งตัวอักษร ขนาดของรูป และการเชื่อมโยง  ส่วนสำคัญของการรับพิจารณาบทความคือการพิจารณาของ Editor-in-Chief ต้องมีจดหมายถึง editor ซึ่งควรระบุชื่อจริงของ Editor และระบุความสำคัญของบทความของเรา

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=496
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง