สรุปรายงานจากการเข้าร่วม โครงการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
วันที่เขียน 7/3/2559 14:28:16     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 15:53:35
เปิดอ่าน: 5405 ครั้ง

โครงการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดประชุมวิชาการโดย สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ ได้มีการเสนอผลงานวิจัยทั้งภาคบรรยาย และภาคโปรสเตอร์ในสาขาต่างๆ มากมาย เช่น สาขาเกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร สาขาสังคมและมนุษยศาสตร์ จากหลายสถาบัน โดยการเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย ได้มีการบรรยายตามสาขา และห้องที่แยกกัน ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมเลือกเข้าฟังได้ตามความสนใจ รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในงานวิจัย ทำให้เกิดความรู้และมุมมองที่หลากหลายยิ่งขึ้น ส่วนภาคโปรสเตอร์ ได้มีการจัดแสดงโปรสเตอร์วิชาการ บริเวณจัดงานประชุมฯ ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเดินชม และสอบถามงานวิจัย ได้จากเจ้าของผลงานโดยตรง จากการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานวิจัย และการเรียนการสอนได้

         ข้าพเจ้า นางชมัยพร นิธิกาจณ์พานิช  ตำแหน่งอาจารย์ สังกัดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหา และการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมโครงการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ระหว่าง วันที่ ๘ – ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จากการเข้าร่วมโครงการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดังกล่าว ข้าพเจ้าขอสรุปเนื้อหา และการนำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้

 สรุปเนื้อหาโดยย่อ 

โครงการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้  จัดประชุมวิชาการโดย สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยแม่โจ้  โดยได้รับฟังเสวนาวิชาการ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ: วิกฤตหรือโอกาสของเกษตรไทย    การประชุมวิชาการฯ  ครั้งนี้ ได้มีการเสนอผลงานวิจัยทั้งภาคบรรยาย และภาคโปรสเตอร์ในสาขาต่างๆ มากมาย เช่น สาขาเกษตรศาสตร์  สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร สาขาสังคมและมนุษยศาสตร์  จากหลายสถาบัน  โดยการเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย ได้มีการบรรยายตามสาขา และห้อง ที่แยกกัน ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมเลือกเข้าฟังได้ตามความสนใจ รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในงานวิจัย ทำให้เกิดความรู้และมุมมองที่หลากหลายยิ่งขึ้น ส่วนภาคโปรสเตอร์ ได้มีการจัดแสดงโปรสเตอร์วิชาการ บริเวณจัดงานประชุมฯ ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเดินชม และสอบถามงานวิจัย ได้จากเจ้าของผลงานโดยตรง จากการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานด้าน

    การพัฒนาเกี่ยวกับงานวิจัย

    สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนางานวิจัย ซึ่งความรู้ที่ได้มีความสำคัญต่อการนำไปใช้ในงานวิจัยเป็นอย่างมากทำให้เกิดการวิเคราะห์ มุมมองของการทำงานวิจัยที่หลากหลายและเข้าใจการนำมาประยุกต์ใช้มากยิ่งขึ้น

    การพัฒนาการเรียนการสอน

    สามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนา และประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ในรายวิชา วิชา วท ๔๙๘ การเรียนรู้อิสระ และสอนหรือให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาที่สนใจในการทำงานวิจัยได้

    คำสำคัญ :
    กลุ่มบทความ :
    หมวดหมู่ :
    แชร์ :
    https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=464
    ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
    ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
    รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
    การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
    การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
    การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
    ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 11:50:36   เปิดอ่าน 11  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
    การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
    การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
    การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
    ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 20:09:37   เปิดอ่าน 84  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
    การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
    จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
    จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
    ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 12:52:57   เปิดอ่าน 126  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง