อบรมเกษตรอินทรีย์
วันที่เขียน 17/3/2558 18:34:40     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/7/2568 14:21:54
เปิดอ่าน: 4776 ครั้ง

เกษตรอินทรีย์คือ การทำการเกษตรด้วยหลักธรรมชาติ บนพื้นที่การเกษตรที่ไม่มีสารพิษตกค้างและหลีกเลี่ยงจากการปนเปื้อนของสารเคมีเพื่อส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่สมดุลธรรมชาติโดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ หรือสิ่งที่ได้มาจากการตัดต่อพันธุกรรม ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีแผนการจัดการอย่างเป็นระบบในการผลิตภายใต้มาตฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูงอุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษโดยมีต้นทุนการผลิตต่ำเพื่อคุณภาพชีวิต

สรุปการรับฟังการอบรม ในงานเสวนาวิชาการ เรื่อง 

-          เกษตรอินทรีย์  “สำนึกใหม่ในระบบนิเวศวิทยา”

-          โซนนิ่งการเกษตรและสมาร์ทฟาร์ม 

ในงาน 40 ปีคณะผลิตกรรมการเกษตร  ในวันที่ 31 ตุลาคม 2557 ณ ห้องประชุม 101  ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมนานาชาติ  มหาวิทยาลัยแม่โจ้

เกษตรอินทรีย์   (Organic  agricultural)

เกษตรอินทรีย์คือ การทำการเกษตรด้วยหลักธรรมชาติ  บนพื้นที่การเกษตรที่ไม่มีสารพิษตกค้างและหลีกเลี่ยงจากการปนเปื้อนของสารเคมีเพื่อส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของดิน  ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่สมดุลธรรมชาติโดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ หรือสิ่งที่ได้มาจากการตัดต่อพันธุกรรม ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีแผนการจัดการอย่างเป็นระบบในการผลิตภายใต้มาตฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูงอุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษโดยมีต้นทุนการผลิตต่ำเพื่อคุณภาพชีวิต

โครงการอุตสาหกรรมอาหารอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2558   ได้แก่  โรงคัดบรรจุผลิตผลเกษตรอินทรีย์, การเลี้ยงและการสร้าง brand สัตว์น้ำอินทรีย์  ผลิตอาหารสัตว์และปศุสัตว์อินทรีย์  พัฒนาผลิตภัณฑ์เข้าสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล  ความร่วมมือเพื่อเพิ่มกำลังการผลิตเกษตรอินทรีย์   ยุวเกษตรอินทรีย์  โรงเรียนเกษตรอินทรีย์ทางอากาศ  ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์   smart organic farming  ปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง   สำรวจความเหมาะสมและจัดทำแผนที่อินทรียวัตถุ  ผลิตปุ๋ยชีวภาพเชื้อ arbuscular mycorrhiza   ขยายผลการผลิตพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์อินทรีย์   พัฒนาฟาร์มต้นแบบเพื่อการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์  ผลิตสปอร์เห็ดหลินจือและเห็ดสมุนไพร  นำร่องการผลิตสตรอเบอรีอินทรีย์

สมาร์ทฟาร์ม (smart farming) หรือการเกษตรอัจฉริยะ คือการนำเทคโนโลยีเกษตรแบบแม่นยำสูง  รวมถึงการใช้ความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่มาจัดการระบบการทำเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น    เทคโนโลยีเกษตรแบบแม่นยำสูง   (Precision agriculatural), เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) นาโนเทคโนโลยี (Nano technology)  เครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ (Machinery) เทคโนโลยีการบริหารจัดการฟาร์ม  (Farm management)   เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ย (Post harvest technology)

การทำเกษตร smart farm  หรือPrecision Agriculture เป็นการนำระบบสมองกลฝังตัว (Embedded system) ที่บูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่าง hardware และ software เพื่อควบคุมการทำงานเฉพาะส่วน   การควบคุมระบบใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (server) ให้บริการซึ่งส่วนใหญ่ต้องมีคุณลักษณะที่ดีและมีราคาสูง  ทำให้เกิดข้อจำกัดในด้านต้นทุนการผลิตที่สูง และจำกัดเฉพาะเกษตรกรรายใหญ่  หรือเกษตรกรที่มีต้นทุน  ปัจจุบันมีความนิยมนำ microcontroller หรือ microprocessor ขนาดเล็กมาทดแทนเครื่องแม่ข่าย  ทำให้ประหยัดต้นทุนด้านฮาร์ดแวร์ที่นำมาใช้งาน   

แนวโน้มของสมาร์ทฟาร์มในอาเซียน
การประยุกต์และใช้งานเทคโนโลยี (precise farming/ smart farm) โดยอาศัยเทคโนโลยี multi functional and multi dimensional sensors)  ได้แก่

-          เซ็นเซอร์ตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ   เช่น  ตรวจสภาพอุณหภูมิและความชื้นในอากาศ  ความเร็วและทิศทางลม  ปริมาณน้ำฝน  พลังงานแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบ   ความเคลื่อนไหวของมวลอากาศในไร่   

-          เซ็นเซอร์ดิน  เช่น ตรวจอุณหภูมิและความชื้นในดิน

-          กล้องวิดีโออะเรย์  เช่น  รายงานกิจกรรมและความเป็นไปในไร่ 

-          จมูกอิเล็กทรอนิกส์  เช่น ตรวจสภาพทางเคมีของดิน ติดตามคุณภาพขององุ่นและไวน์ที่ผลิตออกมา

 

 

                                                                                                                               (สมคิด  ดีจริง)

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=360
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เอกสารเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการอบรม “โครงการอบรมหลักการเขียนตำราและหนังสือสำหรับขอตำแหน่งวิชาการ”
การเข้าร่วมอบรมโครงการ "หลักการเขียนตำราและหนังสือสำหรับขอตำแหน่งทางวิชาการ" ได้มุ่งเน้นเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการจัดทำตำราและหนังสือวิชาการที่มีคุณภาพในระดับอุดมศึกษา...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 24/6/2568 11:16:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/7/2568 4:06:13   เปิดอ่าน 40  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
CISA » CISA สำหรับหลักสูตรปรับปรุง 2570
กิจกรรม : การประชุมชี้แจง ระบบสารสนเทศหลักสูตรเพื่อการรับรองมาตรฐานการอุดมศึกษาในหลักสูตรการศึกษา (ระยะที่ 1 การตรวจสอบหลักสูตรการศึกษา) (Curriculum Information System for Higher Education Accredit...
CISA  หลักสูตรปรัปปรุง 2570     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน อนรรฆอร ศรีไสยเพชร  วันที่เขียน 19/6/2568 10:43:48  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/7/2568 13:00:13   เปิดอ่าน 50  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมการประชุมชี้แจง ระบบสารสนเทศหลักสูตรเพื่อการรับรองมาตรฐานการอุดมศึกษาในหลักสูตรการศึกษา (ระยะที่ 1 การตรวจสอบหลักสูตรการศึกษา) (Curriculum Information System for Higher Education Accreditation: CISA) และแผนผังการเสนอหลักสูตร
ได้เข้าร่วมกิจกรรม การประชุมชี้แจง ระบบสารสนเทศหลักสูตรเพื่อการรับรองมาตรฐานการอุดมศึกษาในหลักสูตรการศึกษา (ระยะที่ 1 การตรวจสอบหลักสูตรการศึกษา) (Curriculum Information System for Higher Education...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน เพชรลดา กันทาดี  วันที่เขียน 23/5/2568 17:27:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 5/7/2568 14:00:45   เปิดอ่าน 219  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง