การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่
วันที่เขียน 29/8/2557 9:33:52     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 15:41:35
เปิดอ่าน: 3660 ครั้ง

การศึกษาทางพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ยุคใหม่

-ทำให้มีการค้นพบไวรัสใหม่ๆ มากยิ่งขึ้น โดยการรวมเอา NGS และวิธีการ random PCR สามารถตรวจหากลุ่มของไวรัสที่อยู่ภายในตัวอย่างที่สนใจทั้งที่เป็นไวรัสที่รู้จักกันอยู่แล้ว หรือเป็นไวรัสที่ยังไม่เคยมีการค้นพบมาก่อน

-สมรรถนะของเทคโนโลยี NGS ทำให้สามารถค้นพบเครื่องหมายโมเลกุล single nucleotide polymorphism (SNP) ในจีโนมของปศุสัตว์ได้เป็นจำนวนมากเครื่องหมายโมเลกุล SNP เหล่านี้ ถูกนำไปพัฒนาเป็นสนิปชิป (SNP chip) เพื่อใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องหมายทางพันธุกรรมกับลักษณะการให้ผลผลิต และการคัดเลือกพันธุ์ในระดับจีโนม ของสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม ถูกนำมาวิเคราะห์จีโนมของสัตว์เลี้ยงในฟาร์มหลายชนิด อาทิเช่น แกะ ไก่ โคเป็นต้น

-ถูกประยุกต์ใช้เพื่อค้นหายีนที่ควบคุมลักษณะการให้ผลผลิตสูง (เนื้อ นม ไข่) ความต้านทานต่อโรค และสวัสดิภาพของสัตว์

-การศึกษาNGS ของจีโนมปศุสัตว์ สามารถช่วยเพิ่มความเข้าใจกลไกพื้นฐานในระดับโมเลกุลของยีนที่ควบคุมลักษณะสำคัญทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้น นอกจากนี้การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านจีโนมของปศุสัตว์

-การศึกษาNGS ของพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจก็มีจำนวนมาก เช่น ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง เป็นต้น องค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์และจีโนมิกส์ของพืชเศรษฐกิจเหล่านี้มีระดับที่แตกต่างกันการศึกษาพันธุศาสตร์ของพืชได้ในทุกระดับ เช่นการค้นหาลำดับเบสและวิเคราะห์จีโนมของorganelles ในเซลพืช ซึ่งได้แก่ plastid genome และ mitochondrial genome ไปจนถึง nuclear genome

-การศึกษาค้นหายีน ศึกษาระดับการแสดงออกของยีน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางพันธุกรรม ในประชากรนั้นๆ

-ได้เข้ามามีบทบาทและถูกนำมาประยุกต์ใช้กับงานบริการและการวิจัยในหลากหลายสาขา รวมทั้งการบริการทางการแพทย์และการวิจัยในมนุษย์

-การใช้ NGS เพื่อการวินิจฉัยโรคหายากและการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งแบบเฉพาะบุคคลLaughing

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=315
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง