เครื่องมือสำหรับการวิเคราะห์ตัวอย่างและระบุเอกลักษณ์ของสารตัวอย่าง
วันที่เขียน 6/7/2566 16:02:26     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 18:03:09
เปิดอ่าน: 192 ครั้ง

การใช้เครื่องมือวิเคราะห์ขั้นสูงเพื่อการตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานต่าง ๆ เช่น เครื่อง gc-ms, icp-ms, uv-vis spectrometer, infrared spectrometer, dsc, tga

การใช้เครื่องมือวิเคราะห์ขั้นสูงเพื่อการตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานต่าง ๆ เป็นสิ่งจำเป็น และเครื่องมือเหล่านี้ถูกพัฒนาขึ้นต่อเนื่อง ตลอดเวลาเพื่อการวิเคราะห์ในระดับความเข้มข้นที่ต่ำลงและลดผลรบกวนจากสารรบกวนต่าง ๆ ลงได้ เช่น เครื่อง GC-MS เหมาะสำหรับงานวิเคราะห์ทดสอบทางด้านอาหาร และยา โดยการพัฒนาระบบการฉีดสารแบบอัตโนมัติเพื่อให้ง่ายสำหรับการใช้งาน การพัฒนาระบบการแยกสารเพื่อให้มีความถูกต้องแม่นยำในการวิเคราะห์มากขึ้น

การพัฒนาเครื่อง ICP-MS ญ โดยเพิ่มระบบการแยกธาตุให้มีประสิทธิภาพการแยกให้ดีมากขึ้น และตรวจวัดได้ในระดับความเข้มข้นต่ำๆ ultra trace element analysis เช่น ppt หรือ ppq

การพัฒนา FTIR สำหรับงานวิเคราะห์ทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกษตร ยา สุขภาพการแพทย์ และในโรงงานอุตสาหกรรม โดยเพิ่มระบบกล้องไมโครสโคปเพื่อการใช้งานที่สะดวก และง่ายขึ้น สำหรับตัวอย่างที่มีขนาดเล็กในระดับไมโคร

นอกจากนี้การวิเคราะห์อาจใช้ร่วมกับเครื่องมืออื่น ๆ เช่น  UV-Vis หรือ  Infrared spectrometer  สำหรับการประยุต์ใช้งานทางทางด้านสิ่งแวดล้อม อาหาร การเกษตร ยา สุขภาพการแพทย์ และในโรงงานอุตสาหกรรม สำหรับตัวอย่างที่เป็นแบบของแข็งและของเหลว และการใช้เครื่อง DSC, TGA สำหรับการบ่งบอกเอกลักษณ์ของ อาหาร พอลิเมอร์ การเกษตร ยา  และในโรงงานอุตสาหกรรม สำหรับการวัดการหาอุณหภูมิที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสารได้

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1357
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง