การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565
วันที่เขียน 18/4/2565 13:36:01     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 21:00:47
เปิดอ่าน: 586 ครั้ง

สรุปเนื้อหาและปะรโยชน์เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติฯ และนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565

ข้าพเจ้าได้นำเสนอผลงานวิชาการในที่ประชุมฯ เรื่อง The Hurdle Poisson-Exponential and Gamma Distribution: Properties and Application to COVID‑19 data set โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ นำเสนอการแจกแจงใหม่สำหรับการศึกษาข้อมูลแจงนับ พร้อมทั้งศึกษาคุณสมบัติความน่าจะเป็นต่าง ๆ ของการแจกแจง และประยุกต์ใช้กับข้อมูลผู้ติดเชื้อ Covid-19 ในประเทศไทย สรุปผลการศึกษาพบว่า การแจงแจงที่นำเสนอใหม่นั้น เหมาะสมกับข้อมูลที่นำมาประยุกต์ใช้มากกว่าการแจกแจงดั้งเดิมเช่นการแจกแจงปัวซง เป็นต้น โดยการศึกษานี้เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการนำข้อมูลผู้ติดเชื้อ Covid-19 นี้ไปใช้ในการพัฒนาตัวแบบอื่น ๆ ต่อไป

  1. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่
    • เป็นการพัฒนาทางวิชาการทั้งทางด้านการเรียนการสอนและการวิจัย โดยการนำความรู้ที่ได้จากการไปนำเสนอผลงานและเข้าร่วมรับฟังความรู้ใหม่ๆที่ได้แลกเปลี่ยนกันระหว่างการประชุมฯ มาใช้ในบูรณาการในการเรียนการสอน และเพื่อต่อยอดงานวิจัยใหม่ ๆ ในอนาคต
    • เพื่อพัฒนาฐานะทางวิชาการของตนเองให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของมหาวิทยาลัย
  2. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)

เพื่อตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1265
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การสรุปเนื้อหาจากการอบรมทางวิชาการ วิชาชีพ การปฏิบัติการพยาบาล » จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์
สรุปเนื้อหาการอบรมเรื่องจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์จัดโดยคณะอนุกรรมการพิจารณาข้อกฎหมาย สภาการพยาบาล ณ โรงแรมเซนทารา ดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 11 กุ...
จริยธรรม พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน วารุณี ผ่องแผ้ว  วันที่เขียน 20/3/2566 16:03:30  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 15:33:27   เปิดอ่าน 7  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การบรรยายพิเศษการออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 ข้อกำหนด R3.5 The teaching and learning activities are shown to inculcate in students, new ideas, creative thought, innovation, and an entrepreneurial mindset.
การบรรยายพิเศษการออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 ข้อกำหนด R3.5 The teaching and learning activities are shown to inculcate in students, new ideas, creative thought, innov...
การคิดค้นนวัตกรรม  การจัดการเรียนการสอน  ความคิดสร้างสรรค์  ความคิดใหม่     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 4/3/2566 22:46:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 10:31:33   เปิดอ่าน 57  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานการอบรม ประชุมวิชาการ » สรุปการเข้าอบรบเรื่อง การจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังผู้เรียน มีความคิดใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรม (1 ก.พ. 66)
ความคิดสร้างสรรค์ คือความคิดที่แตกต่างไปจากความคิดเดิม แรงจูงใจของเรื่องการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู ครูอาจารย์เป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ได้ การจัดการเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นใ...
เทคนิคการสอน ความคิดสร้างสรรค์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นฤมล เข็มกลัดเงิน  วันที่เขียน 1/3/2566 17:02:18  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 15:35:35   เปิดอ่าน 47  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความรู้จากการเข้าอบรม ประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการอบรมการจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังผู้เรียนมีความคิดใหม่ความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรม
การสอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์สามารถทำได้หลายวิธี หลักการที่สำคัญคือการสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลาย และรู้สึกปลอดภัยที่จะแสดงความรู้สึก/ความคิดเห็น นอกจากนี้การสร้างแรงจูงใจจากการ...
การสอน  ความคิดสร้างสรรค์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ยุพเยาว์ คบพิมาย  วันที่เขียน 1/3/2566 16:36:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 13:13:44   เปิดอ่าน 58  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การตระหนักรู้ในการรับรู้และใช้สื่ออย่างถูกต้อง ASEAN DIGITAL LITERACY PROGRAMME » อิทธิพลของสื่อต่อการตระหนักรู้ข้อมูลข่าวสาร
ในปัจจุบันมีผู้เข้าถึงสื่อสังคมดิจิทัลได้อย่างรวดเร็ว การบอกต่อข้อมูลที่เป็นเท็จให้คนใกล้เคียง เช่น ข้อมูลในไลน์ที่แชร์กันไปเรื่อย ๆ ซี่งเป็นข้อมูลที่ไม่รู้แหล่งที่มา แต่ผู้รับสื่อหลงเชื่อได้อย่า...
การตระหนักรู้  สื่อสังคมออนไลน์  อิทธิพล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ก่องกาญจน์ ดุลยไชย  วันที่เขียน 10/2/2566 14:57:28  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/3/2566 11:16:22   เปิดอ่าน 75  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง