สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 2nd International Conference on Anaerobic Digestion Technology: Sustainable Alternative Bioenergy for a stable life (ADTech
วันที่เขียน 26/7/2561 15:42:03     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 2:53:11
เปิดอ่าน: 1975 ครั้ง

เข้าร่วมรับฟังการบรรยายจากนักวิจัยที่มีชื่อเสียงจากต่างประเทศ เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย การผลิตไบโอก๊าซ ความหลายหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ในระบบไร้อากาศ โดยมีนักวิจัยที่มีชื่อเสียงในระดับโลกมานำเสนอการบรรยายพิเศษ รวมถึงรับฟังการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่าจากนักวิจัยทั้งจากประเทศไทยและต่างชาติในหลายหัวข้อต่างๆ ซึ่งทำให้ได้รับฟังความรู้และความคิดเห็นทางวิชาการที่จะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนการสอนและงานวิจัยต่อไปได้ นอกจากนี้ยังได้ร่วมเสนอผลงานทางวิชาการในรูปแบบโปสเตอร์ในหัวข้อเรื่อง “Statistical optimization of cellulase production by Breznakia pachnodae T1-07 isolated from termite gut” โดยมีผู้ร่วมวิจัย ๓ คน ได้แก่ นางสาวสายชล กันทะวัง นางสาววสุกัญญา รักธัญญกรรม และ ผศ.ดร.ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน ซึ่งในงานวิจัยดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายใต้สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ข้าพเจ้า นางปิยะนุช เนียมทรัพย์ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัด หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 2nd International Conference on Anaerobic Digestion Technology: Sustainable Alternative Bioenergy for a stable life (ADTech-SAB ๒๐๑๘) เมื่อวันที่ ๔-๗ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่ ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.๐๕๒๓.๔.๔/๘๕ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ซึ่งการเข้าร่วมประชุมวิชาการดังกล่าวข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรตามกรณีที่ ๓  ดังนั้นจึงขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของ ประชุมวิชาการ ดังต่อไปนี้

1. การพัฒนาเกี่ยวกับงานวิจัย

          ได้เข้าร่วมรับฟังการบรรยายจากนักวิจัยที่มีชื่อเสียงจากต่างประเทศ เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย การผลิตไบโอก๊าซ ความหลายหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ในระบบไร้อากาศ โดยมีนักวิจัยที่มีชื่อเสียงในระดับโลกมานำเสนอการบรรยายพิเศษ รวมถึงรับฟังการนำเสนอผลงานทางวิชาการแบบปากเปล่าจากนักวิจัยทั้งจากประเทศไทยและต่างชาติในหลายหัวข้อต่างๆ ซึ่งทำให้ได้รับฟังความรู้และความคิดเห็นทางวิชาการที่จะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนการสอนและงานวิจัยต่อไปได้ นอกจากนี้ยังได้ร่วมเสนอผลงานทางวิชาการในรูปแบบโปสเตอร์ในหัวข้อเรื่อง “Statistical optimization of cellulase production by Breznakia pachnodae T1-07 isolated from termite gut” โดยมีผู้ร่วมวิจัย ๓ คน ได้แก่ นางสาวสายชล กันทะวัง นางสาววสุกัญญา รักธัญญกรรม และ ผศ.ดร.ไพโรจน์ วงศ์พุทธิสิน ซึ่งในงานวิจัยดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายใต้สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

 2. การพัฒนาการเรียนการสอน

    สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการในครั้งนี้มาพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ของจุลชีววิทยาได้หลายวิชาให้ทันสมัยมากยิ่งขึ้น เช่น

- วิชาในระดับปริญญาตรี ได้แก่ วิชา ชว ๓๐๐ เมแทบอลิซึมและการควบคุมของสิ่งมีชีวิต ชว ๓๓๐ วิชาจุลชีววิทยา ชว ๔๓๓ วิชาวิชาการจำแนกแบคทีเรีย เป็นต้น

- วิชาในระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ วิชา ทช ๕๓๐ วิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางด้านจุลินทรีย์ ทช ๕๓๑ วิชาการจำแนกจุลินทรีย์ และ ทช ๗๓๐ อนุกรมวิธานของจุลินทรีย์ขั้นสูง

รวมทั้งนำมาพัฒนางานปัญหาพิเศษ งานวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ ให้มีความทันสมัยและทัดเทียมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำอื่นๆ รวมถึงมหาวิยาลัยในต่างประเทศได้

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=812
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 18:44:10   เปิดอ่าน 12  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 21:03:27   เปิดอ่าน 86  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 1:48:33   เปิดอ่าน 129  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง