Big Data และโปรแกรม R เบื้องต้น
วันที่เขียน 14/2/2560 14:43:32     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:05:59
เปิดอ่าน: 3797 ครั้ง

เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่งที่นิยมใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ, คณิตศาสตร์ การประมวลผลต่างๆ และ การแสดงผลทางด้านกราฟฟิก ภาษา R ถูกพัฒนาในปี 1993 โดย Ross lhaka and Robert Gentleman ภาษา R ถูกสร้างอยู่บนพื้นฐานของภาษา S ซึ่งพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในงานสถิติ เป็นโปรแกรมประเภท Opensource และ Free software โปรแกรมถูกออกแบบมาให้มีความยืดหยุ่นต่อการใช้สูตรต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่น การคำนวณอาร์เรย์ เมทริกซ์ และ การประมวลผลทางสถิติเช่น linear, non-linear modeling, classification, time-serie analysis, clustering เป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถที่จะนำไปใช้ร่วมกับภาษาอื่นเช่น ภาษา Python เพราะ R มีฟังกชั่นทางสถิติที่ใช้ช่วยในการประมวลผลข้อมลมหึมา (big data) ได้โดยงาย นอกจากนี้ยังสามารถทำงานกับแหล่งข้อมูล (Data sources) ที่หลากหลาย ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวปัจจุบันภาษา R จึงถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน Data mining และ Machine learning

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ

          ข้าพเจ้า นางสาววรรณวิมล  นาดี ตำแหน่งอาจารย์ สังกัด สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร R Programming  เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอน และ งานด้านวิจัยทางด้าน Big Data, Dataming, Text mining หรือ Machine learning ระหว่างวันที่ 4-5 เดือน กุมภาพันธ์ 2560 ณ เดอะคอนเน็คชั่น เอดูคูซีน  แขวงจอมพล กรุงเทพมหานคร  ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ 0523.4.8/37 ลงวันที่  26 มกราคม 2560

สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมฝึกอบรมดังต่อไปนี้

-        แนะนำ Big Data

-        การติดตั้งและการใช้งาน R โปรแกรม

-        แนะนำประเภทตัวแปร  ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์  control flow statement และ Function

          ที่ใช้ในภาษา R 

-        การเรียกใช้ Dataset  การนำข้อมูลเข้า การส่งข้อมูลออก  การเลือกข้อมูล 

-        การสร้างกราฟในรูปแบบต่างๆ

บทความนี้จะเป็นการแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับ Big Data และ สรุปเนื้อหาการใช้งานเบื้องต้นของภาษา R 

สามารถคลิ๊กอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตามเอกสารนี้  บทความ Big Data  และ การใช้ภาษา R 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=615
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 8:43:18   เปิดอ่าน 10  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 20:09:37   เปิดอ่าน 84  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 4:35:56   เปิดอ่าน 125  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง