สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558
วันที่เขียน 12/9/2559 23:05:50     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 14:20:54
เปิดอ่าน: 4180 ครั้ง

พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558 ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวได้กำหนดให้ ยกเลิกพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ .ศ. 2525 และพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544

สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558  

ในการอบรมได้ให้ความรู้โดยสรุปเกี่ยวกับพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558
ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวได้กำหนดให้ ยกเลิกพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ .ศ. 2525 และพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 และมีใจความ ดังนี้

 

ความหมายของเชื้อโรคและพิษจากสัตว์

เชื้อโรค หมายความว่า เชื้อจุลินทรีย์ และสารชีวภาพ เฉพาะที่ทำให้เกิดโรคในคน ปศุสัตว์ สัตว์พาหนะ หรือสัตว์อื่นตามประกาศกระทรวง โดย 

เชื้อจุลินทรีย์ คือ แบคทีเรีย รา ไวรัส และปรสิต

ส่วนสารชีวภาพ คือ ผลิตผลหรือส่วนหนึ่งส่วนใดที่ถูกสร้างขึ้นหรือดัดแปลงจากพิษจากสัตว์ จุลินทรีย์ หรือเชื้ออื่นตามประกาศ  และอนุภาคโปรตีนก่อโรค หรือพริออน (prion)

 

พิษจากสัตว์ หมายความว่า พิษที่เกิดจากสัตว์และทำให้เกิดภาวะที่ร่างกายทำงานได้ไม่เป็นปกติในคน ปศุสัตว์ สัตว์พาหนะ หรือสัตว์อื่นตามประกาศ

 

การควบคุมเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ 

กำหนดห้ามมิให้ผู้ใดใช้เชื้อโรคหรือพิษจากสัตว์กระทำการใดอันก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่นหรือสุขภาพของบุคคลอื่น หรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม และห้ามมิให้ผู้ใดปกปิด ซ่อนเร้น หรือทำลายเชื้อโรคหรือพิษจากสัตว์ เพื่อขัดขวางการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหรือการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 16 และมาตรา 17)

การควบคุมเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ กำหนดให้มีการแบ่งกลุ่มเชื้อโรคเป็น 4 กลุ่ม และแบ่งกลุ่มพิษจากสัตว์ เป็น 3 กลุ่ม โดยให้มีการดำเนินการ ดังตารางต่อไปนี้


ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) โดยใช้ chat gpt เข้ามาช่วย
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review) เป็นกระบวนการที่เรียบร้อยและเป็นระบบในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่มีอยู่เพื่อสรุปข้อมูลและข้อสรุปที่มีค่าในสาขาวิชาต่าง ๆ การใช้ Chat GP...
Chat GPT Systematic Review     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน ศิรินภา อ้ายเสาร์  วันที่เขียน 26/9/2566 16:11:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 3:25:03   เปิดอ่าน 16  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
สรุปรายงานจากการอบรม » วิธีการเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อแสดงการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
การเตรียมสไลด์ถาวรเพื่อศึกษาการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเผยแพร่วิธีการเตรียมสไลด์ ให้ผู้ที่ปฏิบัติงานในหลักสูตรพันธุศาสตร์ ได้นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับส...
สไลด์ถาวร การแบ่งเซลล์ ไมโอซิส meiosis     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 26/9/2566 11:21:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 7:31:03   เปิดอ่าน 19  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ฝึกอบรมการทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ » การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ (Systematic Review)
การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบหรือ Systematic Review คือกระบวนการวิจารณ์วรรณกรรมที่จัดทำโดยใช้ขั้นตอนและเครื่องมือที่มีระเบียบเพื่อสรุปผลลัพธ์จากการวิเคราะห์วรรณกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับหัวข้อห...
Chat GPT  การทบทวนวรรณกรรมอย่างมีระบบ  การอ่านอย่างมีระบบ  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 26/9/2566 3:20:07  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 7:14:54   เปิดอ่าน 16  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
สรุปรายงานจากการอบรม » Quantitative PCR (qPCR)
PCR (Polymerase chain reaction) เป็นเทคนิคที่มีการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต จากปริมาณ DNA ตั้งต้น เพิ่มขึ้นเป็นล้านล้านสำเนา ภายในระยะเวลาอันสั้น ขั้นตอนในการทำ PCR แบบดั้ง...
PCR, qPCR     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 25/9/2566 13:14:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/10/2566 3:44:13   เปิดอ่าน 19  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง