รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ การประชุมวิชาการงานสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2559 เมื่อวันที่ 4 – 5 กุมภาพันธ์ 2559 ณ
วันที่เขียน 16/3/2559 17:09:22     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 10:30:35
เปิดอ่าน: 2865 ครั้ง

การเข้าร่วมประชุมวิชาการ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์ 2. เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือเพื่อสร้างและพัฒนาความก้าวหน้าของงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ต่อไป

ข้าพเจ้า .ดร.ปริศญารัตณ์ สังกะเพศ ตำแหน่งอาจารย์  สังกัดสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมการประชุมวิชาการงานสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานด้านคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2559 เมื่อวันที่

4– 5 กุมภาพันธ์ 2559 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.0523.4.5 / 15 ลงวันที่ 13 มกราคม 2559 ซึ่งการเข้าร่วมประชุมวิชาการดังกล่าวข้าพเจ้าได้เลือกใช้งบประมาณการพัฒนาบุคลากรตามกรณีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 

  1. 1.       เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ทางคณิตศาสตร์ 
  2. 2.      เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยได้พบปะแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ด้านการวิจัย ตลอดจนการพัฒนาความร่วมมือเพื่อสร้างและพัฒนาความก้าวหน้าของงานวิจัยทางคณิตศาสตร์ต่อไป

ดังนั้นจึงขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ดังต่อไปนี้

วันพฤหัสที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559

มีกำหนดการและรายละเอียดต่างๆดังนี้

เวลา 8.30 – 9.00 น.   ลงทะเบียน

เวลา 9.00 – 9.30 น.    พิธีเปิด โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า อธิการบดีมหาวิทยาลัย

ราชภัฎอุตรดิตถ์

เวลา 9.30 – 10.30 น.  ฟังเสวนาหัวข้อเรื่อง ทิศทางการทำงานและการศึกษาต่อของนักศึกษา วท.บ. คณิตศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดย ศาสตราศาสตร์ ดร.สมยศ พลับเที่ยง และรองศาสตราจารย์ ดร.มาโนชญ์ สิริพิทักษ์เดช ท่านได้ตอบปัญหาด้านคณิตศาสตร์และแนะนำทิศทางการทำงานและการศึกษาต่อของนักศึกษา

เวลา 10.45 – 11.30 น. บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์ เพชร์โรจน์ ในหัวข้อเรื่อง การพัฒนาหัวข้อสัมมนาสู่งานวิจัยด้าน Analysis ท่านได้แนะนำการเรียนด้านคณิตศาสตร์และแนะนำการเตรียมความพร้อมก่อนทำวิจัย

เวลา 11.30 – 12.10 น.  ในงานนี้ ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังการนำเสนอผลงานในด้านคณิตศาสตร์ ซึ่งทำให้

เกิดแนวคิดในการทำวิจัยด้านคณิตศาสตร์ และได้เปิดมุมมองวิจัยด้านใหม่ โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

 

 

  1. On Left Fixed Maps of be - algebras
  2. The Strong Convergence Theorems for Split Common Fixed Point Problem of Asymptotically Non-Expansive Mappings in Hilbert Spaces
  3. Multipliers in Be – Algebras
  4. Some General Systems of Rational Difference Equation
  5. New Application of Reduce Differential Transform Method
  6. Some properties of left regular semigroup satisfying the identity xyx = xz
  7. A Note on Congruent Number

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559

มีกำหนดการและรายละเอียดคร่าวๆดังนี้

เวลา 8.40 – 14.30 น.  รับฟังการนำเสนอผลงานวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์แบบบรรยาย

โดยเรื่องที่ข้าพเจ้าได้เข้ารับฟังมีดังนี้

  1. Rate of Convergence of U-Iteration for Continuous Functions on Closed Intervals
  2. The Fixed Point Existence for A-Contraction Mapping in b-Metric Spaces
  3. Strong Convergence Theorems for Lipschitzian Pseudocontractive Mappings in Hilbert Spaces
  4. คณิตศาสตร์กับการถ่ายเทความร้อน
  5. Monoid of Generalized Hypersubstitutions for Algebraic Systems

เวลา 14.45 - 17.00 น.   สรุปผลการสัมมนาและปิดโครงการ

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=491
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/4/2568 19:34:49   เปิดอ่าน 81  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/4/2568 22:30:12   เปิดอ่าน 119  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย » ขอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์
ตามที่ข้าพเจ้าได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย” ภายใต้ โครงการการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การนำไปใช้ประโยชน์ในวันพุธที่...
AI  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พรพรรณ อุตมัง  วันที่เขียน 21/2/2568 9:49:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 9:19:26   เปิดอ่าน 225  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง