เทคนิคการเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ได้รับทุน
วันที่เขียน 4/9/2557 10:26:51     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/5/2567 5:39:51
เปิดอ่าน: 2813 ครั้ง

ได้รับฟังการบรรยายจาก คุณสุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการกอง กองบริหารแผนและงบประมาณการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ถึงเทคนิคการเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ได้รับทุน ทำให้มีความรู้ความเข้าใจเทคนิคและวิธีการ เขียนข้อเสนอ โครงการวิจัยตามหลักวิชาการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยได้อย่างถูก ต้องเหมาะสมตามหลักเกณฑ์ของแหล่งสนับสนุนทุนวิจัย รวมทั้งสามารถทราบแหล่งทุนต่างๆ และแบบฟอร์มในการเขียนโครงการวิจัย และสามารถทำวิจัยร่วมกันได้ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการในครั้งนี้ มาพัฒนาการเรียนการสอนในวิชา วท 498 การเรียนรู้อิสระ งานวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งนำมาใช้สอนแก่นักศึกษาเกี่ยวกับการเขียนโครงร่างงานวิจัย

รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนา หรือประชุมวิชาการ

          ข้าพเจ้า นางปิยะนุช เนียมทรัพย์ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สังกัด หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ขอนำเสนอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมการพัฒนานักวิจัย เรื่อง “เทคนิคการเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ได้รับทุน” เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2557 ณ ห้องคาวบอยเธียเตอร์ อาคารพัฒนาวิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดโดย สำนัก วิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตามหนังสือขออนุญาตเข้าร่วม เลขที่ ศธ.0523.4.4/235 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2557 ดังนั้นจึงขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมโครงการ ดังต่อไปนี้

1. การพัฒนาเกี่ยวกับงานวิจัย

     ได้รับฟังการบรรยายจาก  คุณสุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการกอง กองบริหารแผนและงบประมาณการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ถึงเทคนิคการเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ได้รับทุน ทำให้มีความรู้ความเข้าใจเทคนิคและวิธีการ เขียนข้อเสนอ โครงการวิจัยตามหลักวิชาการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยได้อย่างถูก ต้องเหมาะสมตามหลักเกณฑ์ของแหล่งสนับสนุนทุนวิจัย รวมทั้งสามารถทราบแหล่งทุนต่างๆ และแบบฟอร์มในการเขียนโครงการวิจัย และสามารถทำวิจัยร่วมกันได้

          2. การพัฒนาการเรียนการสอน

    สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการในครั้งนี้ มาพัฒนาการเรียนการสอนในวิชา วท 498 การเรียนรู้อิสระ งานวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ ซึ่งนำมาใช้สอนแก่นักศึกษาเกี่ยวกับการเขียนโครงร่างงานวิจัย

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=319
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร » Data Science คืออะไร และนำมาใช้ประโยชน์อย่างไร
Data Science หรือ วิทยาการข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมูล (Collect) การจัดการข้อมูล (Manage) การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyze) ไปจนถึงขั้นตอนการนำข้อมูลมาช...
Data Science  วิทยาการข้อมูล     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 24/4/2567 13:27:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/5/2567 0:46:40   เปิดอ่าน 24  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ ห้องเอกภพวิทยา ชั้น G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดย...
ChatGPT  การประชุมวิชาการ  เทคโนโลยี  วิทยาศาสตร์  สิ่งแวดล้อม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 11/4/2567 15:19:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/5/2567 19:43:12   เปิดอ่าน 40  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าอบรม สัมมนาหรือประชุมวิชาการ » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 5
รายงานสรุปเนื้อหา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิริพร สมุทรวชิรวงษ์  วันที่เขียน 2/4/2567 16:14:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/5/2567 22:15:26   เปิดอ่าน 66  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง