การให้คำปรึกษาในฐานะนักวิทยาศาสตร์
วันที่เขียน 1/9/2555 23:54:11     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 21:27:43
เปิดอ่าน: 3939 ครั้ง

ในสายงานของนักวิทยาศาสตร์ หรือสายงานใกล้เคียง เป็นสิ่งที่มักจะหลีกเลี่ยงไม่ได้เสมอ แต่การจะให้คำปรึกษา หรือแนะนำข้อมูลต่าง ๆ ให้แก่คนอื่น ๆ ได้ เราควรจะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมอย่างไร

                  โดยภาระงานนักวิทยาศาสตร์ นอกจากจะเป็นผู้ที่ทำงานวิเคราะห์ทดสอบแล้ว สิ่งหนึ่งที่จะควบคู่มาด้วยคือ การเป็นผู้ให้คำปรึกษา หรือเป็นผู้ให้ข้อมูลแก่บุคคลอื่น ๆ ที่สนใจ หรือเกี่ยวข้องทั้งในสายงานของเรา หรือสายงานใกล้เคียง เป็นสิ่งที่มักจะหลีกเลี่ยงไม่ได้เสมอ แต่การจะให้คำปรึกษา หรือแนะนำข้อมูลต่าง ๆ ให้แก่คนอื่น ๆ ได้ เราควรจะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสม ซึ่งจากการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ เรื่อง เทคนิคการให้คำปรึกษา เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2555  ณ ห้องข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ทำให้พอจะทราบได้ว่า ผู้ที่จะให้คำปรึกษาได้ดี ควรจะมีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. รู้ลึก รู้จริง ในเรื่องที่จะให้คำปรึกษา
  2. นอกจากรอบรู้ในสายวิชาชีพแล้ว ควรมีความรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อที่จะเชื่อมโยงให้ผู้รับบริการได้แนวทางในการหาความรู้เพิ่มขึ้น
  3. ควรหาเทคนิคในการโน้มน้าวใจ ผู้รับคำปรึกษาให้เกิดความมั่นใจ และพร้อมปฏิบัติตาม
  4. การถ่ายทอด/ให้คำแนะนำต่างๆ ผู้ให้คำปรึกษาควรมีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย
  5. ควรมีการสร้างเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ เพื่อส่งเสริมงานด้านการประชาสัมพันธ์/งานเผยแพร่ เพื่อให้เกิดรูปแบบงานที่ครบวงจรมากยิ่งขึ้น
  6. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรในฐานเรียนรู้ หรือองค์ความรู้ด้านอื่น ๆ เพื่อให้เกิดการรู้จักกันระหว่างหน่วยงาน และเสริมสร้างการทำงานเป็นทีม
  7. ต้องตระหนักอยู่เสมอว่า “เราเอาชื่อแม่โจ้ไปด้วย” เพื่อทำให้เกิดความภาคภูมิใจ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=210
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
สรุปรายงานจากการอบรม » การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการอ่านลำดับสายยาวด้วย oxford nanopore sequencing
ทคโนโลยี nanopore เป็นเทคโนโลยีการหาลำดับ DNA และ RNA แบบสายยาวต่อเนื่อง โดยไม่ต้องใช้กระบวนการสังเคราะห์ DNA ต้นแบบ ไม่ทำต้องปฏิกิริยา PCR จึงทำให้การวิเคราะห์ลำเบสต่างๆมีความแม่นยำ รวดเร็ว และประ...
DNA sequencing, nanopore technology     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน วริศรา สุวรรณ  วันที่เขียน 17/4/2567 14:00:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 16:13:45   เปิดอ่าน 6  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
พัฒนาตนเอง-นงคราญ » “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร"
จากการเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร “อุดมคติ On Tour" เรื่องหัวข้อ “การผลิตคราฟต์เบียร์ ขนาด 20 ลิตร วันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการผลิตคราฟต์เบียร์ ...
กลุ่มงานช่วยวิชาการ  การผลิตคราฟต์เบียร์  เบียร์ (ฺBeer)  พัฒนาตนเอง  อบรม  อบรมเชิงปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน นงคราญ พงศ์ตระกุล  วันที่เขียน 9/1/2567 14:47:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/4/2567 12:05:17   เปิดอ่าน 650  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การประชุมวิชาการระดับชาติ » งานประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี 2566 เรื่อง นวัตกรรมเกษตรอาหาร และสุขภาพ
จากการได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติซึ่งการจัดการประชุมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน ภานรินทร์ ปรีชาวัฒนากร  วันที่เขียน 4/1/2567 14:54:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/4/2567 7:46:27   เปิดอ่าน 126  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง