แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร กิจกรรมที่ 1
วันที่เขียน 9/1/2567 17:20:51     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 12:19:59
เปิดอ่าน: 149 ครั้ง

ได้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร กิจกรรมที่ 1 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 เวลา 9:00 - 14:00 น. ณ ห้องประชุม 2 อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ โดยได้รับฟังวิทยากร และฝึกเขียนตัวอย่างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ใน มคอ.3 บางรายวิชา ที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้(Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหลักสูตรอื่น ๆ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) 
ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร กิจกรรมที่ 1" วันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 เวลา 9:00 - 14:00 น.
ณ ห้องประชุม 2 อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์
โดยได้รับฟังวิทยากร ผศ.ดร.กฤษณะ ลาน้ำเที่ยง และให้ผู้เข้าร่วมจัดเตรียมเอกสารเข้าร่วม ได้แก่ รายละเอียด มคอ. 3/ PLOs ของหลักสูตร/
และตารางความสัมพันธ์ระหว่างรายวิชากับ PLOs ของหลักสูตร
จากนั้นได้ลองฝึกเขียนตัวอย่างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับรายวิชา (Course Learning outcomes: CLOs) ใน มคอ.3 บางรายวิชาของหลักสูตรฯ ให้สอดคล้อง
กับผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ของหลักสูตร และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหลักสูตรอื่น ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนมีการทบทวน
PLOs ของหลักสูตร และให้ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจในการกำหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา (CLOs) ใน มคอ.3 และ มคอ.4 ที่สอดคล้องกับ PLOs ของหลักสูตร
เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ PLOs ของหลักสูตรได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนอาจารย์ผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับกลยุทธ์การสอนที่หลากหลายและการประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกัน
ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา อีกครั้งยังเป็นการขับเคลื่อน AUN-QA Version 4.0 โดยยังพบปัญหา คือ ในรายวิชาที่สอนนักศึกษานอกหลักสูตรฯ และนอกคณะ
จำเป็นต้องทราบ PLOs ของหลักสูตรเหล่านั้น รวมทั้ง Bloom's Taxonomy เพื่อให้ระดับการเรียนรู้เหมาะสมกับผู้เรียน

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1414
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง