การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ หลักสูตรการท าไวน์และสุนทรีของการดื่มไวน์
วันที่เขียน 3/10/2566 14:39:01     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/10/2567 18:15:04
เปิดอ่าน: 305 ครั้ง

เข้าร่วมการฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ หลักสูตรการท าไวน์และสุนทรีของการดื่มไวน์ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2566

ไวน์ (Wine)

ไวน์เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ( 9-15 % )ที่จากองุ่นหรือผลไม้อื่นๆหมัก โดยนิยมน ามาดื่มคู่กับอาหาร ไวน์แยกเป็นแยกเป็นชนิด ได้ 5 ชนิด

  1. ไวน์แดง เป็นไวน์ที่หมักจากองุ่นแดงเท่านั้น โดยสีแดงของไวน์ได้จากการเติมเปลือกองุ่นลงไป โดยความเข้ม ของสีแดง ไปจนแดงอมม่วง ก็จะขึ้นกับระยะเวลาในการหมัก ยิ่งนานยิ่งเข้ม อาหารที่กินเข้ากับไวน์แดงจะเป็น พวก เนื้อ จะเข้ากันได้ดี
  2. ไวน์ขาว เป็นไวน์ที่หมักจากองุ่นเขียว เอามาบดใช้แต่น้ำองุ่นไม่เติมเปลือกลงไป อาหารที่กินเข้ากันกับไวน์ ขาว พวกปลา อาหารทะเล
  3. ไวน์โรเซ่ เป็นไวน์สีชมพู หมักจากองุ่นแดง หรือองุ่นขาวเป็นเวลาสั้นๆ โดยแยกเปลือกออกจากเนื้อองุ่นก่อน หมัก อาจจะเติมเปลือกไปเล็กน้อยจะทำให้ได้สีที่เข้มขึ้น   สามารถกินได้กับอาหารที่หลากหลาย   ได้ทั้งเนื้อ อาหารรสจัด ปลา หรืออาหารรสชาติอ่อน
  4. ไวน์สปาร์คกลิ้ง เป็นไวน์ที่มีการอัดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้เป็นไวน์ที่มีฟองซ่า เป็นไวน์ที่นิยมทาน ก่อนอาหาร
  5. ไวน์หวาน เป็นไวน์ที่มีน้ำตาลเหลืออยู่มาก และมีปริมาณแอลกอฮอล์ที่น้อย ทานได้ทุกเพศทุกวัย เข้าได้กับ อาหารผักผลไม้ หรือขนม

 ขั้นตอนการผลิตไวน์

  1. คั้นน้ำจากลูกเบอร์รี่ประมาณ 1 kg กรองเอาแต่ส่วนใสด้วยผ้าขาวบางจากนั้น ปรับปริมาตรให้ได้ 1 ลิตรด้วย น้ำดื่ม
  2. เติมน้ำเชื่อมปรับความหวาน แล้ววัดความหวานให้ได้ค่าประมาณ 20 – 25 brix เทน้ำลูกเบอร์รี่ที่ได้ลงใน ขวดหมัก
  3. เติมกล้าเชื้อยืสต์ เทลงไปในน้ำเบอร์รี่
  4. ปิดจุกขวดหมัก ด้วยแอร์ล๊อค รอ 7วัน แล้ว knock เชื้อบรรจุขวด

ประโยชน์ของไวน์

ไวน์เป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ แต่ยังมีพวกน้ำองุ่น น้ำผลไม้อื่นๆ ที่นำมาเป็นส่วนประกอบสรรพคุณที่ได้ก็จะ มาจากผลไม้นั้นด้วย เช่น

  1. ชะลอความแก่
  2. ช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ
  3. ช่วยลดความเสี่ยงจากโรคมะเร็ง
  4. ช่วยลดปริมาณคอเลสเตอรอล
  5. ช่วยในการย่อยอาหาร
  6. ช่วยคลายความเครียด ช่วยป้องกันโรคความจำเสื่อม
  7. ช่วยด้านสุขภาพเหงือกและฟัน
  8. ช่วยป้องกันโรคหวัด

 

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1400
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 6/10/2567 16:34:19   เปิดอ่าน 86  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 5/10/2567 21:37:00   เปิดอ่าน 116  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 5/10/2567 21:36:54   เปิดอ่าน 114  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง