เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน?
วันที่เขียน 19/5/2565 14:17:36     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 2:57:51
เปิดอ่าน: 1125 ครั้ง

กิจกรรมการจัดการความรู้ครั้งที่ 2/2564 "เขียนโครงการอย่างไรให้ได้ทุน?" จัดขึ้นในวันที่ 3 พ.ค.2565 โดย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting

สรุปสาระสำคัญจากการอบรม

เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน ประกอบด้วยประเด็นสำคัญ คือ

  1. วิเคราะห์โจทย์ จุดเด่น จุดขาย งานวิจัย: ไม่ติดหล่มศาสตร์ตัวเอง นักวิจัยรุ่นใหม่ต้องพร้อมบูรณาการ / การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย คือ การเสนอขายด้วยตัวอักษร จุดขายได้แก่ ประเด็นวิจัย พื้นที่วิจัย และกลุ่มเป้าหมายที่ทำวิจัย
  2. แหล่งทุนวิจัย และการเลือกแหล่งทุน: เลือกให้สอดคล้องกับประเด็นวิจัย
  3. เทคนิคการ ตั้งชื่อ งานวิจัย: ตั้งชื่อให้โดดเด่น โชว์ศาสตร์/ความเชี่ยวชาญของนักวิจัยและทีม และต้องเข้าใจลักษณะเฉพาะของแหล่งทุน/กลุ่มเรื่อง/ผู้ทรงคุณวุฒิ
  4. เทคนิคการเขียน วัตถุประสงค์ การวิจัย: ควรเขียนเพียง 3 ข้อ คือ ต้นทาง(องค์ความรู้) กลางทาง(นวัตกรรม) และปลายทาง (การถ่ายทอด/นำไปใช้)
  5. การเขียน "ชุดโครงการวิจัย" แบบมืออาชีพ: แผนงานวิจัย ควรมีโครงการวิจัยภายใต้แผนงาน 3-5 เรื่อง ครอบคลุม ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ซึ่งเอาประเด็นเป็นตัวตั้ง หรือ เอาพื้นที่เป็นตัวตั้ง
  6. การเขียนหลักการและเหตุผล: ควรเขียน 4 ย่อหน้า คือประเด็นที่จะทำวิจัย พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย  องค์ความรู้เดิม/ช่องว่างความรู้ และประสบการณ์ทีมวิจัย/จะทำอะไร/ประโยชน์

 

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1275
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 2:53:23   เปิดอ่าน 13  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 21:03:27   เปิดอ่าน 86  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 1:48:33   เปิดอ่าน 129  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง