โครงการเตรียมความพร้อมรองรับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
วันที่เขียน 15/5/2565 16:15:48     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 7:46:13
เปิดอ่าน: 1171 ครั้ง

โครงการเตรียมความพร้อมรองรับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) จัดในวันอังคารที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 9.30-11.30 น. ผ่านระบบประชุม ออนไลน์ MS Teams โดย คุณธนชาติ วิวัฒนภูติ – หัวหน้าฝ่ายกลยุทธ์โซลูชั่นซอฟต์แวร์การศึกษา และคุณพงศธร บุญนิธิพัฒน์ -หัวหน้าฝ่ายงานบริการลูกค้า และเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล บริษัท ลานนาคอม จํากัด ซึ่งจัดโดยกองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ

ข้าพเจ้าขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเข้าร่วมโครงการฯ ดังกล่าว ดังต่อไปนี้

สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ

  1. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) จะเริ่มใช้วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565 โดย PDPA ย่อมาจาก PERSONAL DATA PROTECTION ACT
  2. ปัจจุบันเป็นยุคของข้อมูล ซึ่งถูกสร้าง เก็บ และแชร์ไปทุก ๆ ที่
  3. ข้อมูลมีทั้งข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส่วนตัว ซึ่งข้อมูลส่วนตัวมีทั้งที่เปิดเผยได้ (Personal Data) เช่น ชื่อ-สกุล อีเมล เบอร์โทรศัพท์ และเปิดเผยไม่ได้ (Sensitive Data) เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ ความคิดเห็นทางการเมือง พฤติกรรมทางเพศ เป็นต้น โดยต้องพึงระวังเป็นอย่างมาก
  4. ในหน่วยงานจะมีเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานย่อยที่คอยดูแลเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ และจะต้องปฏิบัติหน้าที่โดยเคร่งครัดในการดูแลข้อมูล หากมีการนำข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจะมีความผิดทางกฎหมายและหัวหน้าส่วนงานมีโอกาสต้องร่วมรับผิดชอบด้วย

ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่

  1. ได้รับความรู้ และข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นประโยชน์อย่างมาก
  2. สามารถนำไปใช้ในการทำงาน ต้องพึงระวังในการนำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลเสียก่อน

ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)

  1. บุคคลากรสามารถเตรียมความพร้อมรองรับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การใช้งาน ChatGPT » เทคนิคการใช้ AI: Chat GPT ช่วยทำงานวิจัยให้สำเร็จ
การใช้งาน ChatGPT ในงานวิจัยเพื่อให้ผู้วิจัยสามารถรวบรวมข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โดยเฉพาะการโต้ตอบกับ ChatGPT เป็นภาษาอังกฤษ ที่สามารถรวบรวมข้อมูลมาจากหลายแหล่งทั่วโลก ขณะที่การโต้ตอบด้วยภาษาไทยยังม...
AI  ChatGPT  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ก่องกาญจน์ ดุลยไชย  วันที่เขียน 18/7/2567 10:41:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/7/2567 1:52:31   เปิดอ่าน 43  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 1:09:59   เปิดอ่าน 47  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/7/2567 14:46:44   เปิดอ่าน 49  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/7/2567 3:47:24   เปิดอ่าน 63  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/7/2567 10:03:46   เปิดอ่าน 73  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง