การบันทึกข้อมูลลงระบบการประเมิน อาจารย์ดีเด่น ปอมท.
วันที่เขียน 7/4/2564 10:43:18     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 21:18:42
เปิดอ่าน: 1150 ครั้ง

                   ด้วยที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ได้จัดให้มี
การเชิดชูเกียรติอาจารย์ที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่มีความรู้ความสามารถในเชิงวิชาการ
มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ และอุทิศตนเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติเป็น “อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ” ประจำทุกปี จำนวน 6 สาขา ดังนี้

  1. สาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
  2. สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
  3. สาขาสังคมศาสตร์
  4. สาขามนุษยศาสตร์
  5. สาขาศิลปกรรมศาสตร์
  6. สาขารับใช้สังคม

                   ปัจจุบันทาง ปอมท. ได้นำระบบการเสนอชื่ออาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ เข้ามาเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ รวมถึงความสะดวกทั้งของอาจารย์ผู้สมัคร และคณะกรรมการตัดสินฯ ในการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของอาจารย์ที่ได้รับการเสนอชื่อเพื่อพิจารณาเป็นอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ซึ่งบุคลากรของงานสภาอาจารย์/สภาคณาจารย์/สภาข้าราชการ/สภาพนักงาน ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบการเสนอชื่ออาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ เพื่อช่วยเสนอแนะ ชี้แจงถึงขั้นตอน และวิธีปฏิบัติให้แก่ผู้สมัครของมหาวิทยาลัยในสังกัดของตนเอง ซึ่งมีวิธีขั้นตอนการปฏิบัติตามเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ 

https://facsenate-general.mju.ac.th/goverment/20111119104835_2011_general_facsenate/Doc_25640407101249_66851.pdf

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1156
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
รุ่งทิพย์ กาวารี » #SFC เทคนิคการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เทคนิคโครมาโตกราฟีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ใช้คอลัมน์แบบเปิดในการแยกสาร ซึ่งใช้เวลานานมาก มีความละเอียดต่ำ มีอัตราการไหลต่ำ (ขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วง) การทำ Gradient ไม่สามารถทำได้ และจำเป็นต้องมี...
Flash  HPLC  Prep HPLC  SFC  Supercritical Fluid Chromatography     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 17/11/2567 16:18:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:54:07   เปิดอ่าน 140  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:35:33   เปิดอ่าน 278  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:55:17   เปิดอ่าน 361  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:12:40   เปิดอ่าน 181  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง