ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมการอบรมสัมมนา เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FT-NIR และ Applied Spectroscopy เพื่อตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑ์จากน้ำนม
วันที่เขียน 7/12/2563 14:41:20     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 14:50:03
เปิดอ่าน: 1088 ครั้ง

ได้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา เรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FT-NIR และ Applied Spectroscopy เพื่อตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑ์จากน้ำนม เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องธาราทอง 2 โรงแรม Holiday Inn Chiangmai จังหวัดเชียงใหม่ และรับฟังการถ่ายทอดประสบการณ์การใช้เครื่องมือในหน่วยงานราชการ ได้แก่ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมทั้งการแสดงเครื่องมือและสาธิตการใช้เครื่องมือของบริษัทบรูเกอร์ (Bruker)

      จากการเข้าร่วมอบรมสัมมนาเรื่อง การประยุกต์ใช้เทคนิค FT-NIR และ Applied Spectroscopy เพื่อตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์อาหาร และผลิตภัณฑ์จากน้ำนม เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องธาราทอง 2 โรงแรม Holiday Inn Chiangmai จังหวัดเชียงใหม่ ขอสรุปเนื้อหาจากการสัมมนา ดังนี้

1. รับฟังการแนะนำผลิตภัณฑ์และหลักการทำงานของเครื่อง FT-NIR ของบริษัทบรูเกอร์

2. รับฟังการบรรยาย การประยุกต์ใช้เครื่อง FT-NIR ในงานเกษตรและอาหาร

3. รับฟังการบรรยาย การประยุกต์ใช้เครื่อง FT-NIR ในงานน้ำนมและผลิตภัณฑ์จากน้ำนม

4. รับฟังการบรรยาย ประสบการณ์การประยุกต์ใช้เครื่อง FT-NIR โดย ผศ.กรวรรณ ศรีงาม ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

5. ชมการสาธิตการใช้งานจริงของเครื่อง FT-NIR และอื่น ๆ รวมทั้งตอบข้อซักถาม

      ข้าพเจ้าได้รับความรู้และประสบการณ์จากการเข้าร่วมอบรมสัมมนา เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เครื่องมือใหม่ๆ ที่มีความแม่นยำและรวดเร็ว ทันสมัย ในงานทางด้านการเกษตรและอาหาร ก่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง และการนำไปบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา จะก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถาบัน หน่วยงานราชการและเอกชน เช่น การจัดการอบรมสัมมนาในครั้งต่อ ๆ ไป การศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประกอบการเรียนการสอน การยกตัวอย่าง ส่งเสริมให้นักศึกษาบรรลุผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา รวมทั้งการบูรณาการความรู้เพื่อพัฒนางานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1137
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง