รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : งานประจำ
อบรมการพัฒนาตนเองด้านความรู้ ทักษะและพฤติกรรม ปี 2567 » กระบวนการพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการนั้นเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลาและความพยายาม รวมถึงการมีส่วนร่วมจากพนักงานทุกระดับในองค์กร การนำเทคโนโลยีและการปรับปรุงกระบวนการมาใช้ จะช่วยให้องค์กรสามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งมีประโยชน์มากมายที่ช่วยให้องค์กรเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันในตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การนำเทคโนโลยีและการปรับปรุงกระบวนการเข้ามาใช้ยังช่วยเสริมสร้างการพัฒนาทักษะและความรู้ของพนักงาน ส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คำสำคัญ : การพัฒนา งานประจำ นวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 79  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ภาวิณี จีปูคำ  วันที่เขียน 27/6/2567 14:10:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 4:07:00
การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ » การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
คำสำคัญ : การพัฒนา งานประจำ นวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 111  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ฉวีวรรณ ธงงาม  วันที่เขียน 21/6/2567 9:36:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 8:48:46
อบรม การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ » การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
การปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องมีความรู้ความสามารถในงานที่ทำแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือการพัฒนา ซึ่งการพัฒนาตนเองทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดทักษะใหม่ๆ ที่จะนำมาใช้ปรับปรุงการทำงานประจำให้ดีขึ้นได้ ดังนั้น การอบรมเรื่องการพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ จึงเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ ตรงกับแนวทางการปฏิบัติงานของสายสนับสนุน ที่มีหน้าที่สนับสนุนภารกิจของสถาบันการศึกษา ได้แก่ การผลิตบัณฑิต การวิจัยและพัฒนา การบริการทางวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น บทบาทของสายสนับสนุน ช่วยสนับสนุนการดำเนินการของสายวิชาการ และผู้บริหาร เพื่อให้บรรลุภารกิจของมหาวิทยาลัย โดย ช่วยวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัย เพื่อหาทางเลือก ข้อดีข้อเสีย พร้อมแนวทางการตัดสินใจ ให้กับฝ่ายบริหารหรือสายวิชาการ ให้เป็นไปตามระเบียบและทันสมัย รวมทั้งต้องมีความชำนาญในหน้าที่ของตน
คำสำคัญ : การพัฒนา  งานประจำ  นวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 218  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน กฤตาณัฐ ศรีประภา  วันที่เขียน 22/3/2567 8:02:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 20:56:50
เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม » การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ/การวิเคราะห์งานประจำ/เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency
การประชุมวิชาการเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ครั้งที่ 6 เรื่อง “เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม” จัดโดย ที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.) ร่วมกับสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยนเรศวร และเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ในระหว่างวันที่ ๒๑-๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมดวงตะวันเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแนวคิดว่าบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษาเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าบุคลากรสายวิชาการ เพราะเป็นผู้ที่ให้การสนับสนุนด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และช่วยขับเคลื่อนกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างราบรื่น การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุนจึงเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อบุคลากรสายสนับสนุนมีศักยภาพมากขึ้น มีความรู้มากขึ้น นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนของสถาบันอุดมศึกษาจะเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมีความยั่งยืน
คำสำคัญ : การวิเคราะห์งานประจำ  การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ  เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 36790  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สรัญญา อาษาไชย  วันที่เขียน 13/2/2561 15:42:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:03:54
เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม » การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ/การวิเคราะห์งานประจำ/เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency
การประชุมวิชาการเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ครั้งที่ 6 เรื่อง “เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม” จัดโดย ที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.) ร่วมกับสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยนเรศวร และเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ในระหว่างวันที่ ๒๑-๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมดวงตะวันเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแนวคิดว่าบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษาเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าบุคลากรสายวิชาการ เพราะเป็นผู้ที่ให้การสนับสนุนด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และช่วยขับเคลื่อนกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างราบรื่น การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุนจึงเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อบุคลากรสายสนับสนุนมีศักยภาพมากขึ้น มีความรู้มากขึ้น นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนของสถาบันอุดมศึกษาจะเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมีความยั่งยืน
คำสำคัญ : การวิเคราะห์งานประจำ  การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ  เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 36790  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สรัญญา อาษาไชย  วันที่เขียน 13/2/2561 15:42:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:03:54