Blog : เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม
รหัสอ้างอิง : 65
ชื่อสมาชิก : สรัญญา อาษาไชย
เพศ : หญิง
อีเมล์ : sarunya@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 12/1/2554 0:00:00
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 12/1/2554 15:21:44

รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม
การประชุมวิชาการเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ครั้งที่ 6 เรื่อง “เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม” จัดโดย ที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.) ร่วมกับสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยนเรศวร และเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ในระหว่างวันที่ 21-22 ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมดวงตะวันเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแนวคิดว่าบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษาเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าบุคลากรสายวิชาการ เพราะเป็นผู้ที่ให้การสนับสนุนด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และช่วยขับเคลื่อนกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างราบรื่น การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุนจึงเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อบุคลากรสายสนับสนุนมีศักยภาพมากขึ้น มีความรู้มากขึ้น นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนของสถาบันอุดมศึกษาจะเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมีความยั่งยืน
เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม » การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ/การวิเคราะห์งานประจำ/เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency
การประชุมวิชาการเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ครั้งที่ 6 เรื่อง “เพิ่มประสิทธิภาพงานบริหารและธุรการด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม” จัดโดย ที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.) ร่วมกับสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง มหาวิทยาลัยนเรศวร และเครือข่ายพัฒนาระบบงานบริหารและธุรการ ในระหว่างวันที่ ๒๑-๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมดวงตะวันเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีแนวคิดว่าบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษาเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าบุคลากรสายวิชาการ เพราะเป็นผู้ที่ให้การสนับสนุนด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และช่วยขับเคลื่อนกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็นภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาให้ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างราบรื่น การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุนจึงเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อบุคลากรสายสนับสนุนมีศักยภาพมากขึ้น มีความรู้มากขึ้น นั่นหมายถึงการขับเคลื่อนของสถาบันอุดมศึกษาจะเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมีความยั่งยืน
คำสำคัญ : การวิเคราะห์งานประจำ  การสร้างนวัตกรรมจากงานประจำ  เทคนิคการวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานสมัยใหม่ ด้วยระบบ KPI และ Competency  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 36957  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สรัญญา อาษาไชย  วันที่เขียน 13/2/2561 15:42:56  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/10/2567 16:47:11

URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้